แนวคิดและแนวปฏิบัติในการบริหารวิชาการ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ กรณีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล อธิการบดี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
หลักการ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เน้นการบริหารจัดการ ที่มีความคล่องตัว และมีประสิทธิภาพ โดยให้การดำเนินการต่างๆ สิ้นสุดในระดับมหาวิทยาลัยให้มากที่สุด ภายใต้การกำกับดูแลของสภามหาวิทยาลัย และให้มีการควบคุมจากหน่วยงานภายนอกเท่าที่จำเป็น เป็นรูปแบบของการกระจายอำนาจสูงสุด
ผลที่คาดหวัง 1. สามารถพัฒนาองค์กรและระบบงานที่ เหมาะสมกับกิจการของมหาวิทยาลัย 2. ลดระเบียบข้อบังคับที่ผูกรัดมัดตัว ไม่เหมาะสมกับการบริหารมหาวิทยาลัย 3. ลดขั้นตอนการทำงาน
ผลที่คาดหวัง (ต่อ) 4. สามารถใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด และประหยัด 5. การบริหารงานที่มีประสิทธิภาพก่อให้เกิด คุณภาพและช่วยให้มหาวิทยาลัยกระทำ ภารกิจบรรลุความเป็นเลิศทางวิชาการ ได้สะดวกขึ้น
การจัดโครงสร้างองค์กร 1. เอื้อต่อพันธกิจของมหาวิทยาลัย 2. จัดโครงสร้างองค์กรในแนวราบ กระจายอำนาจให้หน่วยปฏิบัติ ปรับเปลี่ยนโครงสร้างได้ตามความเหมาะสม
การจัดระบบบริหารงานภายใน ให้สิ้นสุดระดับสภามหาวิทยาลัย จัดระบบและวางระเบียบการเงินและทรัพย์สิน จัดระบบบริหารงานบุคคล จัดระบบงานวิชาการ จัดระบบและวางระเบียบการบริหารทั่วไป “สามารถจัดระบบบริหารทุกด้านที่เป็นของตนเอง”
ความสัมพันธ์ภายนอก ครม. สำนัก สำนักงาน งบประมาณ ตรวจเงินแผ่นดิน นโยบายและแผน งบประมาณ มาตรฐานการศึกษา การแต่งตั้งสภามหาวิทยาลัย อธิการบดีและศาสตราจารย์ รัฐมนตรีว่าการ ศธ. สำนัก งบประมาณ สำนักงาน ตรวจเงินแผ่นดิน มหาวิทยาลัย กระทรวง การคลัง ตรวจสอบภายหลัง -ผู้สอบบัญชี การจัดสรรเงิน อุดหนุนทั่วไป เบิกงบประมาณ เงินอุดหนุนตามงวดเงิน
การบริหารงานวิชาการ หลักการ จัดระบบบริหารงานวิชาการในรูปคณะกรรมการ คณาจารย์มีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการ กระจายอำนาจในการตัดสินใจไปสู่หน่วยปฏิบัติ ตามความเหมาะสม
องค์กรและกลไกการบริหารงานวิชาการ สภามหาวิทยาลัย สภาวิชาการ ศูนย์/สถาบัน สำนักวิชา คณะกรรมการ ประจำสำนักวิชา คณะกรรมการ ประจำศูนย์/สถาบัน
การบริหารงานวิจัย หลักการ 1. หน่วยประสาน : สถาบันวิจัยและพัฒนา 1. หน่วยประสาน : สถาบันวิจัยและพัฒนา จัดระบบบริหารงานในรูปคณะกรรมการ (รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย กำกับดูแล) 3. ถือเป็นภาระงานประเภทหนึ่งของคณาจารย์
การสนับสนุนของมหาวิทยาลัย ทุนอุดหนุนการวิจัย เงินสนับสนุนการตีพิมพ์เผยแพร่ เงินสนับสนุนการนำเสนอผลการวิจัย เงินอุดหนุนหน่วยวิจัย/ศูนย์วิจัยเพื่อความ เป็นเลิศ
งบประมาณเพื่อการวิจัย งบประมาณของมหาวิทยาลัย เงินอุดหนุนการวิจัยจากหน่วยงานภายนอก จัดเก็บค่าบริหารจัดการร้อยละ 10
การบริหารงานบริการวิชาการ หลักการ 1. หน่วยประสาน : ศูนย์บริการวิชาการ 2. บริหารงานในรูปคณะกรรมการ (รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย กำกับดูแล) 3. ถือเป็นภาระงานประเภทหนึ่งของคณาจารย์
ลักษณะงานบริการวิชาการ งานตามพันธกิจของมหาวิทยาลัย งานที่หน่วยงานภายนอกให้ช่วยดำเนินการ 3. งานที่มหาวิทยาลัยจัดหา/ดำเนินการเอง
งบประมาณ งบประมาณของมหาวิทยาลัย งบประมาณที่หน่วยงานจัดสรรงบประมาณ มาให้/ค่าลงทะเบียนของผู้รับบริการ จัดเก็บค่าบริหารจัดการร้อยละ 10 - 25