Information Technology and Public Management Revolution in Public Administration New Public Administration
สภาพแวดล้อมขององค์กรภาครัฐ Public Sector
รูปแบบการบริหารจัดการของภาครัฐ: ปัจจุบันและแนวโน้ม รูปแบบการบริหารจัดการของภาครัฐ: ปัจจุบันและแนวโน้ม 1. การบริหารจัดการเชิงธุรกิจ 2. e - government 3. Decentralization and private participation
การนำ Information Technology (IT) มาใช้ในการบริหารราชการ e-World e-APEC / e-ASEAN e-Thailand / e-Society/e-Government e-Public Administration / e-doctoral student
e-Government e-Government คือวิธีการบริหารจัดการภาครัฐโดยการนำ เทคโนโลยีสารสนเทศมาเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงาน ของภาครัฐ ปรับปรุงบริการแก่ประชาชน และบริการด้าน ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคม โดยที่การดำเนินการเป็นแบบ G2G , G2B , G2C
ผลประโยชน์ของ IT ในการบริหารภาครัฐ 1. economies and efficiencies 2. equal access to government for all 3. speedy response to the needs of the governed 4. transparent governance with growing accountability 5. empowerment through information
The Worldbank’s e-Government Website www1.worldbank.org/publicsector/egov 1. Better Service Delivery to Citizens 2. Improved Services for Business 3.Transparency and Anticorruption 4. Empowerment through Information 5. Efficient Government Purchasing
Better Services Delivery to Citizens www1.worldbank.org/publicsector/egov ดูในเอกสารเพิ่ม
การพัฒนาการ e - government in Thailand
บริการข้อมูลข่าวสาร (Online Information Services) เป็นการบริการข้อมูลแบบออนไลน์ของภาครัฐที่ประชาชนและภาคธุรกิจ โดยมีโครงการนำร่อง ดังนี้ ข้อมูลระดับหมู่บ้านเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต www.nso.go.th ข้อมูลนิติบัญญัติ รัฐสภาอิเล็กทรอนิกส์ www.parliament.go.th โครงการ e-Economics www.nesdb.go.th โครงการ e-Finance www.bot.or.th
การบริการเชิงพาณิชย์ (Transaction Services) เป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนและภาคธุรกิจของหน่วยงาน ของรัฐ โดยมีโครงการนำร่อง ดังนี้ โครงการ e-Registration www.nso.go.th ครงการ e-Revenue www.rd.go.th โครงการ e-Industry www.diw.go.th โครงการ e-Investment www.boi. โครงการ e-Service สำนักงานกพ www.ocsc.go.th
การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Payment Gateway) พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยร่วมดำเนินการระหว่างรัฐและเอกชน โดยมี โครงการนำร่อง ดังนี้ โครงการ e-Revenue www.rd.go.th โครงการ e-Financial www.กรมโรงงาน โครงการ e-Payment www.boi.
การจัดซื้อทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Procurement) เป็นการกำหนดกรอบ แนวทาง และมาตรฐานสำหรับขบวนการจัดซื้อ เพื่อส่งเสริมและร่วมผลักดันให้เกิดระบบการจัดซื้อจัดจ้างบน internet โดยมีโครงการนำร่อง ดังนี้ โครงการ e-Procurement www.nso.go.th ครงการ e-Auction www.rd.go.th
www.nitc.go.th
E- Governement Initiatives Worldwide
e-Government Rankings in 2003 Darrel M West, Center for Policy Study, Brown University Singapore 46.3 United States 45.3 Canada 42.4 Australia 41.5 Taiwan 41.3 Turkey 38.3 Great Britain 37.7 Malaysia 36.7 Austria 36.0 Switzerland 35.9 China 35.9 New Zealand 35.5 Finland 35.5 Philippines 35.5 Denmark 35.5 Hong Kong 34.5 Thailand 32.4
National Information Infrastructure