งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักธรรมาภิบาล ของ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักธรรมาภิบาล ของ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักธรรมาภิบาล ของ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
อาจารย์ชัยยุทธ กมลศิริสกุล หลักธรรมาภิบาล ของ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี วิชา "ปลัดอำเภอกับการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล"

2 การพัฒนาระบบราชการ พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

3 สภาพระบบราชการเดิม แก่ อ้วน ขี้โรค

4 ขั้นตอนการพัฒนาระบบราชการ
ปรับปรุงโครงสร้างส่วนราชการ ปรับปรุงวิธีปฏิบัติราชการ ปรับปรุงประสิทธิภาพ

5 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ความเห็นของส่วนราชการ ความเห็นของนักวิชาการ ความเห็นของ อ.ก.พ.ร. และ ก.พ.ร. ค.ร.ม. เห็นชอบ

6 อาจารย์ชัยยุทธ กมลศิริสกุล
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ มาตรา 3/1 “การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ต้องคำนึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้” วิชา "ปลัดอำเภอกับการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล"

7 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
1. เจตนารมณ์ 2. เหตุผลความจำเป็น 3. สาระสำคัญ

8 1. เจตนารมณ์ของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
1.1 สร้าง กฎ เกณฑ์ และกลไกที่ดีในการบริหารราชการ 1.2 ทำให้บ้านเมืองอยู่อย่างสันติ สงบสุข 1.3 พัฒนาระบบราชการให้มีประสิทธิภาพ ตอบสนอง ความต้องการของประชาชน

9

10 2. เหตุผลความจำเป็น 1. กระแสโลกาภิวัตน์ 2. กระแสประชาธิปไตย
3. ปัญหาวิกฤตทางเศรษฐกิจ 4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 5. พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (มาตรา 3/1) 6. การปฏิรูประบบราชการ

11 3. สาระสำคัญ มาตรา 3/1 การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การยุบภารกิจและยกเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจการตัดสินใจ การอำนวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลงาน 1/3

12 3. สาระสำคัญ มาตรา 3/1 (ต่อ)
การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่ง หรือ ปฏิบัติหน้าที่ ต้องคำนึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ 2/3

13 3. สาระสำคัญ มาตรา 3/1 (ต่อ)
เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการใน การปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการ และ ข้าราชการปฏิบัติก็ได้ 3/3

14 1. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
เกิดประโยชน์สุข ของ ประชาชน มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ อย่างสม่ำเสมอ เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อ ภารกิจของรัฐ เป้าหมาย การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี ประชาชนได้รับการ อำนวยความสะดวกและได้รับ การตอบสนองความต้องการ มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ มีการปรับปรุงภารกิจ ของส่วนราชการ ให้ทันต่อเหตุการณ์ ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจำเป็น

15 2. การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน
เป้าหมาย 1. เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศ 2. สังคมมีความสงบและปลอดภัย 3. ประชาชนมีความผาสุกและความเป็นอยู่ที่ดี แนวทาง แปลงแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ นโยบายของคณะ รัฐมนตรี และความต้องการของประชาชน สู่ภาคปฏิบัติ

16 2. การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน (ต่อ)
ของประชาชน (ต่อ) วิธีการ ประชาชนเป็นศูนย์กลาง การกำหนดภารกิจต้องมีเป้าหมายเพื่อความสุขของประชาชน มีความซื่อสัตย์ ก่อนดำเนินการต้องวิเคราะห์ผลดี ผลเสีย รับฟังความคิดเห็น และความพึงพอใจของสังคม แก้ไขปัญหา อุปสรรค จากการดำเนินการโดยเร็ว

17 3. การบริหารราชการเพื่อเกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ
เป้าหมาย การปฏิบัติราชการเกิดผลลัพธ์ตามเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ชัดเจน แนวทาง การบริหารงานโดยยึดวัตถุประสงค์ หรือผลสัมฤทธิ์ เป็นตัวตั้ง

18 3. การบริหารราชการเพื่อเกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ (ต่อ)
ต่อภารกิจของรัฐ (ต่อ) วิธีการ 1. จัดทำแผนปฏิบัติราชการล่วงหน้าที่กำหนดเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด ความสำเร็จของภารกิจที่ชัดเจน โดยจัดทำ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี แผนปฏิบัติราชการ ประจำปี 1/3

19 3. การบริหารราชการเพื่อเกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ (ต่อ)
ต่อภารกิจของรัฐ (ต่อ) วิธีการ 2. แผนปฏิบัติราชการจะต้องสอดคล้องกับ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ นโยบายของรัฐบาลที่แถลงต่อรัฐสภา แผนการบริหารราชการแผ่นดิน 3. แผนนิติบัญญัติ 2/3

20 3. การบริหารราชการเพื่อเกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ (ต่อ)
ต่อภารกิจของรัฐ (ต่อ) วิธีการ 4. จัดทำความตกลงเพื่อแสดงความรับผิดชอบในการ ปฏิบัติราชการ 5. การหารือระหว่างส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง (บูรณาการ) 6. องค์การแห่งการเรียนรู้ 7. จัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกับแผน 8. จัดให้มีการติดตามผล ประเมินผล และรายงานผล 3/3

21 4. การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ
และเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ เป้าหมาย ปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่า แนวทาง จัดให้มีการประเมินประสิทธิภาพและความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ

22 4. การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ
และเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ (ต่อ) วิธีการ 1. กำหนดเป้าหมาย แผนการทำงาน ระยะเวลาแล้วเสร็จ และงบประมาณที่ใช้ 2. จัดทำบัญชีต้นทุน รายจ่ายต่อหน่วย และแผนการ ลดรายจ่ายต่อหน่วย 3. ประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจ 1/2

23 4. การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ
และเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ(ต่อ) วิธีการ 4. การจัดซื้อจัดจ้างไม่ต้องถือราคาต่ำสุดอย่างเดียว 5. หน้าที่ของส่วนราชการที่จะพึงมีต่อส่วนราชการด้วยกัน 6. มติคณะกรรมการให้ผูกพันส่วนราชการ ซึ่งมีผู้แทนร่วม 7. การสั่งราชการด้วยวาจาเป็นข้อยกเว้น 2/2

24 5. การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
เป้าหมาย ประชาชนได้รับบริการที่สะดวก และรวดเร็ว แนวทาง กระจายอำนาจการตัดสินใจ ให้ผู้รับผิดชอบโดยตรง และ จัดระบบบริการแบบเบ็ดเสร็จ

25 5. การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน (ต่อ)
5. การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน (ต่อ) วิธีการ การกระจายอำนาจการตัดสินใจ การควบคุมติดตามและกำกับดูแล แผนภูมิขั้นตอนและระยะเวลาการทำงาน นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ จัดระบบบริการสำหรับงานที่เกี่ยวข้องกันหลายส่วนราชการ ให้มีความชัดเจน แก้ไขหลักเกณฑ์วิธีการ จัดตั้งศูนย์บริการร่วมในกระทรวง จังหวัด และอำเภอ

26 รายละเอียดการปรับปรุงบริการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการประกอบธุรกิจ (Doing Business)
ที่มา: ธนาคารโลก (World Bank) ได้เผยแพร่รายงานผลการวิจัยเกี่ยวกับการจัดอันดับความยากง่ายในการเข้าไปประกอบธุรกิจของประเทศต่างๆ ทั่วโลก (Doing Business) มติครม. 20 ธค 48 ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องดำเนินการปรับปรุงบริการฯ ตามรายงานผลวิจัยของธนาคารโลก และให้สกพร. ร่วมกับ ก.พาณิชย์ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องศึกษารายละเอียดและดำเนินการปรับปรุงบริการให้สำเร็จ การดำเนินการ สกพร. ร่วมกับ ก.พาณิชย์ และ 47 หน่วยงาน จัดตั้งคณะทำงานตามดัชนีชี้วัดของธนาคารโลก รวม 9 คณะทำงาน เพื่อดำเนินการปรับปรุงบริการตามมติครม. ดังนี้ คณะทำงานด้าน หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ 1. การเริ่มต้นธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า 2. การขออนุญาต (ก่อสร้าง) กทม. 3. การขอใช้ไฟฟ้า การไฟฟ้านครหลวง 4. การจดทะเบียนทรัพย์สิน กรมที่ดิน 5. การได้รับสินเชื่อ สนง.เศรษฐกิจการคลัง คณะทำงานด้าน หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ 6. การคุ้มครองผู้ลงทุน สนง.คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ฯ 7. การชำระภาษี กรมสรรพากร 8. การค้าระหว่างประเทศ กรมศุลกากร 9. การบังคับให้เป็นไปตามข้อตกลง และการปิดกิจการ สนง.กิจการยุติธรรม ผลการจัดอันดับความยาก-ง่ายในการประกอบธุรกิจของประเทศไทยดีขึ้น ดังนี้ ปี 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 อัน ดับ 20 (145 ปท.) (155 ปท.) 18 (175 ปท.) 15 (178 ปท.) 13 (181 ปท.) 12 (183 ปท.) 19 17

27 อาจารย์ชัยยุทธ กมลศิริสกุล
ที่มา : Ease of Doing Business  เป็นรายงานผลการศึกษาเพื่อจัดอันดับความยาก-ง่ายในการเข้าไปประกอบธุรกิจในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก โดยธนาคารโลก ศึกษาเกี่ยวกับขั้นตอนและระยะเวลาการให้บริการ การอำนวยความสะดวก ต้นทุนค่าใช้จ่าย และ กฎหมาย กฎ ระเบียบต่าง ๆ ของรัฐว่ามีส่วนสนับสนุนหรือเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินธุรกิจอย่างไร ตัวชี้วัดในการสำรวจมี 10 ด้าน ตามวงจรธุรกิจตั้งแต่การเริ่มต้นธุรกิจจนถึงการปิดกิจการ ลำดับ ตัวชี้วัด 1 การเริ่มต้นธุรกิจ 2 การขออนุญาตก่อสร้าง 3 การขอใช้ไฟฟ้า 4 การจดทะเบียนทรัพย์สิน 5 การได้รับสินเชื่อ 6 การคุ้มครองผู้ลงทุน 7 การชำระภาษี 8 การค้าระหว่างประเทศ 9 การบังคับให้เป็นไปตามข้อตกลง 10 การแก้ปัญหาการล้มละลาย เกณฑ์การพิจารณา มี 4 เรื่อง ดังนี้ เริ่มตั้งธุรกิจ ขั้นตอนการดำเนินการ Easier ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ ขยายธุรกิจ Doing Business Sub-Indicator Faster Cheaper ดำเนินธุรกิจ ระยะเวลาการดำเนินการ Smarter Regulations กฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง เลืกธุรกิจ 27 วิชา "ปลัดอำเภอกับการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล"

28 อาจารย์ชัยยุทธ กมลศิริสกุล
ผลการจัดอันดับประเทศที่อยู่ใน 30 อันดับแรก Doing Business 2012 1. Singapore 16. Georgia 2. Hong Kong SAR, China 17. Thailand 3. New Zealand 18. Malaysia 4. United States 19. Germany 5. Denmark 20. Japan 6. Norway 21. Latvia 7. United Kingdom 22. Macedonia, FYR 8. Korea, Rep. 23. Mauritius 9. Iceland 24. Estonia 10. Ireland 25. Taiwan 11. Finland 26. Switzerland 12. Saudi Arabia 27. Lithuania 13. Canada 28. Belgium 14. Sweden 29. France 15. Australia 30. Portugal ผลการจัด อันดับ 30 อันดับแรก ในปี ประเทศไทยอยู่ ในลำดับที่ 17 จาก 183 ประเทศ ทั่วโลก และอยู่ในอันดับที่ 6 ของเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก (28 ปท.) 28 28 วิชา "ปลัดอำเภอกับการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล" 28

29 อาจารย์ชัยยุทธ กมลศิริสกุล
ผลการจัดอันดับ Doing Business ของประเทศไทย ปี Thailand 20 out of 155 17 out of 183 15 out of 178 12 out of 183 20 out of 145 18 out of 175 19 out of 183 13 out of 181 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 หมายเหตุ ธนาคารโลกทำการศึกษาเพื่อจัดอันดับล่วงหน้า 1 ปี 29 วิชา "ปลัดอำเภอกับการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล" 29

30 ผลการจัดอันดับ 30 อันดับแรกของโลก
ผลการจัดอันดับของประเทศไทยใน Doing Business 2013 อาจารย์ชัยยุทธ กมลศิริสกุล ผลการจัดอันดับของประเทศไทย ปี ผลการจัดอันดับ 30 อันดับแรกของโลก ผลการจัดอันดับของประเทศไทยในอาเซียน ลำดับ เอเชีย อาเซียน 1 สิงคโปร์ 2 ฮ่องกง มาเลเซีย 3 เกาหลี ไทย 4 บรูไน 5 ไต้หวัน เวียดนาม 6 อินโดนีเซีย *New Zealand, Korea, Australia and Japan are Asia-Pacific economies classified as OECD High-Income by the World Bank Group 30 วิชา "ปลัดอำเภอกับการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล"

31 อาจารย์ชัยยุทธ กมลศิริสกุล
ผลการจัดอันดับ Ease of Doing Business ของประเทศไทย ผลการจัดอันดับ 30 อันดับแรกของโลก (DB2014) ผลการจัดอันดับของประเทศไทยในเอเชีย และอาเซียน ลำดับ เอเชีย อาเซียน 1 สิงคโปร์ 2 ฮ่องกง มาเลเซีย 3 ไทย 4 เกาหลีใต้ 5 ไต้หวัน 6 ปี 2010 : อันดับดีขึ้น เนื่องจาก 1. ด้านการเริ่มต้นธุรกิจ : กรมพัฒนาธุรกิจการค้าได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 18) พ.ศ โดยมีผลบังคับใช้เมื่อเดือนกรกฎาคม 2551 มาตรา 1111/1 ให้สามารถจดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิ และจดทะเบียนบริษัทไปพร้อมกันภายในวันเดียวก็ได้ 2. ด้านการจดทะเบียนทรัพย์ : รัฐบาลมีนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจโดยค่าธรรมเนียมการโอนทรัพย์สินจาก 2% เหลือ 0.01% และลดภาษีธุรกิจเฉพาะจาก 3.3% เหลือ 0.11% ปี 2011 : อันดับลดลง เนื่องจาก 1. ธนาคารโลกได้มีการปรับฐานการประเมินผลเพื่อจัดอันดับประเทศต่าง ๆ จากปี ค.ศ ที่ประเมินผลจากตัวชี้วัด 10 ด้าน เป็นการประเมินผลจากตัวชี้วัด 9 ด้าน โดยตัดด้านการจ้างงานออกเป็นทำให้มีการปรับฐานการจัดอันดับใหม่ 2. ด้านการจดทะเบียนทรัพย์สิน : รัฐบาลได้ยกเลิกนโยบายการลดค่าธรรมเนียมการโอนทำให้มีค่าธรรมเนียมสูงขึ้น เป็นร้อยละ 4.3 และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 6.3 ในปัจจุบัน ปี 2012 : อันดับดีขึ้น เนื่องจาก ด้านการเริ่มต้นธุรกิจ : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กรมสรรพากร และสำนักงานประกันสังคม ร่วมกันดำเนินการโครงการพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลการเริ่มต้นธุรกิจ (e –Starting Business) โดยสามารถเปิดให้บริการ ณ จุดเดียว (Single Point) โดยให้กรมพัฒนาธุรกิจการค้าให้บริการจดทะเบียนนิติบุคคล พร้อมขอเลขประจำตัว ผู้เสียภาษีอากรและเลขที่บัญชีนายจ้างได้ โดยใช้แบบฟอร์มร่วมกัน (Single Form) และเอกสารประกอบชุดเดียวกัน (Single Document) ปี 2013 : อันดับลดลง เนื่องจาก จำนวนประเทศในการเพิ่มในการสำรวจเพิ่มขึ้นจาก 183 เป็น 185 ประเทศ และมีหลายประเทศที่มีการปรับปรุงอย่างก้าวกระโดด เช่น มาเลเซีย (จากอันดับ 18 เป็น 12 ประเทศจอร์เจีย จาก 16 เป็น 9) 31 วิชา "ปลัดอำเภอกับการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล"

32 ผลการจัดอันดับ Doing Business 2015
ใช้วิธีการจัดอันดับแบบค่าเฉลี่ยลำดับ เปอร์เซนต์ไทล์ของตัวชี้วัดในแต่ละด้าน ผลการจัดอันดับ 30 อันดับแรก ของโลก (DB2015) ผลการจัดอันดับ DB ผลการจัดอันดับ DB ใช้วิธีการจัดอันดับแบบ Distance to frontier (DTF)” คือ พิจารณาจากระยะห่างของผลการปฏิบัติงาน จากประเทศที่มีแนวปฏิบัติที่ดีเลิศ 32

33 การพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนสู่ความเป็นเลิศ

34 The number of agencies that sent proposals to the UN
United Nations Public Service Awards from The number of agencies that sent proposals to the UN Year 1st round 2nd round 3rd round Awards Won 2007 7 3 - 2008 15 6 4 1* 2009 20 9 1** 2010 2011 21 18 11 2*** 2012 19 10 2**** * พ.ยโสธร ได้รับรางวัล Finalist สาขา Improving the delivery of services ** รพ.มรหาราชนครเชียงใหม่ ได้รับรางวัล Winner สาขา Improving the delivery of services *** 1. กรมสรรพากร ได้รับรางวัล 1st Place Winner สาขา Advancing knowledge management in government 2. กรมชลประทาน ได้รับรางวัล 2nd Place Winner สาขา Fostering participation in policy-making decisions through innovative mechanisms **** 1. กรมชลประทาน ได้รับรางวัล 1st Place Winner สาขา Fostering participation … จากผลงาน “การป้องกันและบรรเทา ภัยแล้งแบบบูรณาการ โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ยม จังหวัดแพร่” 2. โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ ได้รับรางวัล 2nd Place Winner สาขา Advancing knowledge… จากผลงาน “โครงการป้องกันตาบอดในผู้ป่วยเบาหวาน”

35 สถิติการส่งสมัครรางวัลฯ ของหน่วยงานภาครัฐไทย
อาจารย์ชัยยุทธ กมลศิริสกุล สำนักงาน ก.พ.ร. ได้สนับสนุนให้หน่วยงานที่ได้รับรางวัลคุณภาพการ ให้บริการประชาชน/รางวัลบริการภาครัฐฯสมัครเข้ารับการ ประเมินรางวัล UN Public Service Awards ตั้งแต่ปี พ.ศ โดยมี สถิติของหน่วยงานที่เสนอผลงาน ดังนี้ จำนวนหน่วยงานที่ส่งผลงานเข้ารับการประเมิน ฯ ค.ศ ปี ผ่านเข้าสู่รอบแรก ผ่านเข้าสู่รอบสอง ผ่านเข้าสู่รอบสุดท้าย ได้รับ รางวัล 2007 7 3 - 2008 15 6 4 1 2009 20 9 2010 2011 21 18 11 2 2012 19 10 2013 39 26 13 2014 33 8 วิชา "ปลัดอำเภอกับการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล"

36 ส่วนราชการที่เสนอขอรับการคัดเลือกรอบแรก
รายงานผลการดำเนินการขอรับการประเมินเพื่อรับรางวัล United Nations Public Service Awards 2011 ส่วนราชการที่เสนอขอรับการคัดเลือกรอบแรก ส่วนราชการที่ผ่านการประเมินเข้าสู่รอบสอง ส่วนราชการที่ผ่านการประเมินเข้าสู่รอบสาม ส่วนราชการที่ได้รับรางวัล กรมสรรพากร กรมชลประทาน กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กรมทางหลวงชนบท กรมราชทัณฑ์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ (บ้านบางแค) สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย สถานีตำรวจนครบาลบุคคโล ดอยตุง มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง โรงพยาบาลสัตว์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โรงพยาบาลค่ายวชิรปราการ โรงพยาบาลเลย โรงพยาบาลสุรินทร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห้องสมุดคณะรัฐศาสตร์ เทศบาลนครลำปาง เทศบาลนครหาดใหญ่ เทศบาลนครพิษณุโลก เคาน์เตอร์บริการประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี สถานีตำรวจนครบาล บุคคโล กรมสรรพากร : สำนักงานสรรพากรภาค 7 (1st Place Winner) กรมชลประทาน : โครงการ ส่งน้ำและบำรุงรักษากระเสียว อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี (2nd Place Winner)

37 United Nations Public Service Awards 2012
ส่วนราชการที่เสนอ ขอรับการประเมินรอบแรก ส่วนราชการที่ผ่าน การประเมินเข้าสู่ การพิจารณารอบสอง การพิจารณารอบสาม (รอบสุดท้าย) ส่วนราชการ ที่ได้รับรางวัล กรมปศุสัตว์ กรมสรรพากร กรมชลประทาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์ โรงพยาบาลจิตเวชสระแก้วราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมการปกครอง กรมราชทัณฑ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ สถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพญาไท กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ศูนย์บริการร่วมจังหวัดกาญจนบุรี สำนักงานที่ดินจังหวัดขอนแก่นสาขาชุมแพ โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาแวง อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี คณะแพทย์ศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ โครงการ ส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ยม จังหวัดแพร่ กรมชลประทาน 1. โครงการ ส่งน้ำและบำรุงรักษา แม่ยม จังหวัดแพร่ 2. โรงพยาบาลจิตเวชสระแก้ว ราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต 3. โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ 1. (1st Place Winner) Integrated Drought Prevention and Mitigation: The Mae Yom Operation and Maintenance Office Muang District, Phrae Province 2. 2nd Place Winnerโรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์

38 รางวัล UN Public Service Awards 2009
ศ.ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับรางวัลดีเยี่ยม United Nations Public Service Awards 2009 ในสาขาการปรับปรุงการให้บริการ (Improving the delivery of service) จากนายบัน คี มุน (Ban Ki-moon) เลขาธิการสหประชาชาติ ในงาน United Nations Public Service Awards Day เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2552 ณ สำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา การเข้ารับรางวัลครั้งนี้ มี รศ.นพ.นิเวศน์ นันทจิต คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รศ.นพ.วัฒนา นาวาเจริญ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ และ ผศ.ลัดดา เฉลยกิตติ รองคณบดี และเลขาธิการ ก.พ.ร. ร่วมเดินทางไปรับรางวัลด้วย

39 รางวัล United Nations Public Service Awards 2011
นายสาธิต รังคสิริ อธิบดีกรมสรรพากร ขึ้นรับรางวัลชนะเลิศ (1st Place Winner) United Nations Public Service Awards 2011 ในสาขาการเสริมสร้างการจัดการความรู้ในภาครัฐ (Advancing Knowledge Management in Government) ด้วยงานบริการ “สำนักงานขวัญใจบริการประชาชน” จากรองประธานาธิบดีสาธารณรัฐแทนซาเนีย ในงาน United Nations and Africa Public Service Day เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2554 ณ เมือง Dar es Salaam สาธารณรัฐแทนซาเนีย นายชลิต ดำรงศักดิ์ อธิบดีกรมชลประทาน ขึ้นรับรางวัลรองชนะเลิศ (2st Place Winner) United Nations Public Service Awards 2011 ใน สาขาการส่งเสริม สนับสนุน การมีส่วนร่วม ในกระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับ นโยบายผ่านกลไกด้านนวัตกรรม (Fostering participation in policy- making decisions through innovative mechanisms) ด้วยงานบริการ “การบริหารจัดการชลประทานแบบมีส่วนร่วม โดยคณะกรรมการ ภาคประชาชนและองค์กรผู้ใช้น้ำ” ของโครงการส่งน้ำและ บำรุงรักษากระเสียว อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี

40 อาจารย์ชัยยุทธ กมลศิริสกุล
United Nations Public Service Awards 2012 Category 3: Fostering Participation in Policy-making Decisions through Innovative Mechanisms 1st Place Winner Initiative: Integrated Drought Prevention and Mitigation: The Mae Yom Operation and Maintenance Office Institution: Royal Irrigation Department รอรูป Category 4: Advancing Knowledge Management in Government 2nd Place Winner Initiative: Preventing Diabetic Blindness Institution: Rajvithi Hospital วิชา "ปลัดอำเภอกับการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล"

41 UN Public Service Day 2008 โรงพยาบาลยโสธร 2011 กรมชลประทาน
2009 รพ.มหาราช นครเชียงใหม่ 2008 โรงพยาบาลยโสธร 2011 กรมชลประทาน 2011 สรรพากรภาค 7 2012 กรมชลประทาน 2012 โรงพยาบาลราชวิถี 2013 สถาบันพัฒนาการเด็ก ราชนครินทร์ 2014 โรงพยาบาลขอนแก่น 2014 สำนักป้องกันควบคุมโรคที่ 9

42 อาจารย์ชัยยุทธ กมลศิริสกุล
โล่และใบเกียรติบัตรจากองค์การสหประชาชาติ มอบให้แก่โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ 28 วิชา "ปลัดอำเภอกับการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล"

43 6. การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ
เป้าหมาย ยกเลิกภารกิจ หรือส่วนราชการที่หมดความจำเป็น แนวทาง จัดให้มีการทบทวนเหตุผล และความจำเป็นของการธำรงอยู่ของภารกิจและส่วนราชการเป็นประจำ

44 6. การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ (ต่อ)
6. การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ (ต่อ) วิธีการ 1. ให้ส่วนราชการทบทวนภารกิจของตน 2. ให้ส่วนราชการปรับปรุงโครงสร้าง อำนาจหน้าที่ให้ สอดคล้องกับภารกิจ 3. ห้ามจัดตั้งส่วนราชการที่มีภารกิจลักษณะเดียวกับที่ยุบเลิก 4. ทบทวนกฎหมายให้ทันสมัย

45 7. การอำนวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน
เป้าหมาย ประชาชนพอใจในการบริการของหน่วยงานของรัฐ แนวทาง จัดระบบ วิธีการบริการให้ตอบสนองความต้องการของประชาชน

46 7. การอำนวยความสะดวกและตอบสนอง ความต้องการของประชาชน (ต่อ)
วิธีการ 1. กำหนดมาตรฐานการบริการของส่วนราชการ 2. การจัดระบบรับคำร้องเรียน ความเห็น และข้อเสนอแนะ ของประชาชน 3. การจัดระบบเครือข่ายสารสนเทศ 4. การปรับปรุงแก้ไข กฎ ระเบียบ ที่เป็นอุปสรรคต่อ ส่วนราชการอื่น 5. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนทราบ

47 8. การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
เป้าหมาย ให้ผลตอบแทนส่วนราชการและข้าราชการ ตามผลการปฏิบัติงาน แนวทาง จัดให้มีประเมินผลการปฏิบัติงานในทุกระดับ ตามผลงาน

48 8. การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ)
8. การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) วิธีการ 1. การจัดทำความตกลง 2. การประเมินผลโดยผู้ประเมินอิสระ 3. ประเมินผลการปฏิบัติงานเฉพาะตัว และหน่วยงาน 4. ให้รางวัลตอนแทนส่วนราชการ และข้าราชการ

49 9. บทเบ็ดเตล็ด เป้าหมาย แนวทาง
เปิดช่องทางให้สามารถกำหนดมาตรการอื่นเพิ่มเติมได้ แนวทาง กำหนดให้มีช่องทางไว้ในพระราชกฤษฎีกา ดังนี้ 1. การกำหนดเงื่อนไขและมาตรการอื่นเพิ่มเติมได้ 2. การลดความซ้ำซ้อนของการปฏิบัติตามเงื่อนไขและ มาตรการต่าง ๆ 3. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การมหาชน และรัฐวิสาหกิจ ปฏิบัติตามแนวทางนี้ด้วย


ดาวน์โหลด ppt หลักธรรมาภิบาล ของ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google