ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา อาชีพศึกษา ผศ.นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
อาชีพศึกษาหมายถึง ?? การให้ความรู้ความเข้าใจแก่นักเรียนให้เข้าใจตนเอง รู้จักความสามารถ การมีชีวิตอยู่ในสังคม ตลอดจนช่วยบุคคลให้หัดวางเป้าหมายเพื่อชีวิตทางอาชีพในอนาคต
หลักการจัดโปรแกรมอาชีพศึกษา 1. คาบกิจกรรมแนะแนว 2. แทรกในสาระการเรียนรู้ 8 สาระ การจัดโปรแกรมแนะแนวอาชีพจัดตรงกับความต้องการของนักเรียน
ขั้นตอนการจัดอาชีพศึกษา Isaacson แบ่งขั้นตอนอาชีพศึกษา 5 ขั้น 1. ขั้นสำนึกรู้เรื่องอาชีพ 2. ขั้นสำรวจอาชีพ 3. ขั้นกระบวนการตัดสินใจ 4. ขั้นเตรียมตัวเพื่องานอาชีพ 5. ทักษะที่จำเป็นในการสมัครงาน
ขั้นสำนึกรู้เรื่องอาชีพ เด็กเข้าโรงเรียนจนถึงชั้นประถมศึกษา ขั้นสำนึกรู้เรื่องอาชีพ เด็กเข้าโรงเรียนจนถึงชั้นประถมศึกษา - ในโลกนี้มีอาชีพต่างๆมากมาย - เครื่องแบบ เครื่องมือเครื่องใช้ใดกับอาชีพใด - อาชีพของพ่อแม่ตนเองกับอาชีพของ พ่อแม่เพื่อน - ลักษณะอาชีพอย่างคร่าวๆ
2. ขั้นสำรวจอาชีพ ชั้นประถมปลายถึงมัธยมต้น - คุณลักษณะของตนเอง - ค่านิยม จุดเด่น ความสามารถ ความถนัด - รายละเอียดของงานอาชีพ
3. ขั้นกระบวนการตัดสินใจ คาบเกี่ยวระหว่างชั้นมัธยมต้นและมัธยมปลาย เปรียบเทียบการรับรู้เกี่ยวกับงานอาชีพกับการเรียนรู้ตนเอง ตั้งเป้าหมายทางอาชีพที่ใกล้เคียงความจริง
4. ขั้นเตรียมตัวเพื่องานอาชีพ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย - นักเรียนเลือกเรียนสายสามัญหรือสายอาชีพ - เตรียมตัวเรียนตามที่ได้เลือกไว้ในขั้นที่ 3 ขั้นกระบวนการตัดสินใจ - การฝึกฝนให้มีความชำนาญในสาขาที่เลือกไว้ - การฝึกงานอาชีพ - การเรียนรู้ทักษะเฉพาะอย่าง - เรียนรู้ว่างานนั้นมีผลตอบแทนทางสังคมที่น่าพอใจหรือไม่ เช่น เกียรติยศ ชื่อเสียง อำนาจ
5. ทักษะที่จำเป็นในการสมัครงาน ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจนถึงอุดมศึกษา - การช่วยเพิ่มพูนทักษะที่จำเป็นในการก้าวสู่โลกของงานอาชีพ - สอนทักษะที่จำเป็นในการสมัครงาน
ซักถาม-อภิปราย