งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

2 ทฤษฎีความต้องการของฮอพพอค (Hoppock’s Composite Theory)
ทฤษฎีทางอาชีพ ทฤษฎีความต้องการของฮอพพอค (Hoppock’s Composite Theory) ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลแลนด์ (Holland’s Theory of Vocational Choice) ทฤษฎีการเลือกอาชีพของโรว์ (Roe’s Theory) ทฤษฎีอาชีพของกินสเบอร์ก (Ginzberg and Associates’ Theory) ทฤษฎีพัฒนาการทางอาชีพของซูเปอร์ (Super’s Theory of Vocational Development) ทฤษฎีของไทด์แมน และ โอฮารา (Tiedman and O’Hara Theory of Career Development) 2

3 ทฤษฎีทางอาชีพ 1. กลุ่มที่มุ่งความต้องการทางจิตวิทยา
Hoppock’s Composite Theory Holland’s Theory of Vocational Choice Roe’s Theory 2. กลุ่มที่มุ่งทางพัฒนาการของอัตตา Ginzberg and Associates’ Theory Super’s Theory of Vocational Development Tiedman and O’Hara Theory of Career Development

4 ทฤษฎีอาชีพของกินสเบอร์ก (Ginzberg and Associates’ Theory)
ข้อมูลพื้นฐาน การเลือกอาชีพของบุคคลมักจะขึ้นอยู่กับตัวแปร 4 ประการ คือ องค์ประกอบด้านความเป็นจริง (Reality Factor) หมายถึงการตอบสนองที่บุคคลมีต่อความกดดันจากสภาพความเป็นจริงของสิ่งแวดล้อม

5 2. กระบวนการทางการศึกษา
(Educational Process)

6 3. องค์ประกอบด้านอารมณ์
(Emotional Factors) หมายถึง ลักษณะทางบุคลิกภาพของบุคคล ที่ทำให้บุคคลตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร

7 4. ค่านิยมของแต่ละบุคคล (Personal Values)

8 กระบวนการตัดสินใจเลือกอาชีพนั้น จะเกิดควบคู่ไปกับชีวิตการทำงานของบุคคล
Ginzberg เชื่อว่า กระบวนการตัดสินใจเลือกอาชีพนั้น จะเกิดควบคู่ไปกับชีวิตการทำงานของบุคคล และถ้าการเลือกอาชีพในช่วงต้นของชีวิตไม่นำไปสู่ความพึงพอใจในการทำงาน บุคคลอาจเลือกอาชีพใหม่ได้ ในชีวิตการทำงานนั้น บุคคลต้องมีการเปลื่ยนแปลงปรับปรุงตัวเองอยู่เสมอตามพัฒนาการของชีวิต หากความต้องการเปลี่ยนไป อาจมีผลต่อการปรับตัวของบุคคลให้ตรงกับความต้องการของตนเองมากที่สุด

9 Ginzberg แบ่งขั้นตอนของการเลือกอาชีพเป็น 3 ระยะ คือ
1. Fantasy Period เริ่มตั้งแต่วัยเด็กจนถึง 11 ปี เป็นระยะเพ้อฝันถึงอาชีพต่าง ๆ ที่ตนเองอยากเป็น โดยยังไม่คำนึงถึงความสามารถและความเป็นไปได้

10 2. Tentative Period ช่วงระหว่างอายุ 11-17 ปี
เป็นระยะการพิจารณาอาชีพแต่ยังยึดองค์ประกอบเกี่ยวกับตนเอง เช่น ความสนใจ ความสามารถและค่านิยม องค์ประกอบที่แท้จริงยังไม่นำมาพิจารณา ซึ่งยังสามารถแบ่งย่อย ๆ ออกเป็นแต่ละขั้น ดังนี้

11 2.1 Interest Stage อายุ 11 ถึง 12 ปีขั้นนี้ยังใช้ความสนใจของตนเองในการเลือกอาชีพที่ต้องการ Capacity Stage อายุ 13 ถึง 14 ปีขั้นนี้ นำความสามารถของตนเองมาพิจารณาด้วยแต่เนื่องจากความรู้ความสามารถยังไม่ถึง จึงเลือกอาชีพแบบทดลอง

12 2.3 Value Stage อายุ 15 ถึง 16 ปี ขั้นนี้จะใช้ค่านิยมของสังคม เช่น รายได้ ชื่อเสียงเกียรติยศจะถูกนำมาพิจารณาในการเลือกอาชีพมากกว่าความสนใจและความ สามารถ ของตน Transition Stage อายุ 17 ปี เริ่มมีการพิจารณาถึงความสนใจ ความสามารถ ค่านิยม ซึ่งขั้นนี้มักจะทราบว่าตนเองต้องการ มีอาชีพแบบใด สามารถทำอะไรได้บ้าง

13 3. Realistic Period อายุ 17 ปี ถึงวัยผู้ใหญ่ อายุประมาณ 25 ปี
เป็นระยะที่จะมีการประนี ประนอม (Compromise) ระหว่างองค์ประกอบที่เป็นจริง กับความต้องการและความสามารถเข้า ด้วยกัน แบ่งออกเป็น 3 ระยะ

14 3.1 Exploration Stage เป็นขั้นสำรวจอาชีพ
ต่าง ๆ Crystallization Stage พร้อมที่จะ เลือกอาชีพใดอาชีพหนึ่ง เนื่องจากได้ข้อมูลในอาชีพมากพอควรแล้ว Specification Stage ขั้นเลือกอาชีพระยะนี้จะตัดสินใจเมื่อเข้าสู่อาชีพนั้น เช่น เลือกงาน หรือเลือกเรียนวิชาชีพ ที่ต้องการ

15 ซักถาม-อภิปราย


ดาวน์โหลด ppt ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google