นโยบายและการขับเคลื่อน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิสัยทัศน์ มุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
Advertisements

ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
สหกรณ์การเกษตรสามง่าม จำกัด
HR Way Organization Chart HRM HR Strategy Job Description HR Scorecard
การมีส่วนร่วมในสหกรณ์
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
มารู้จักสหกรณ์กันเถอะ
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
โครงการ “เหรียญห้า เหรียญสิบ รอมริบเอาไว้”
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจัดการศึกษาในชุมชน
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วิสัยทัศน์ “ เป็นองค์กรที่พัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
ขบวนจังหวัดระยอง. แนวคิดและหลักการ ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ ชุมชน เข้มแข็ง สร้างคน สร้าง ขบวน ถอด องค์ ความรู้ ปฏิบัติ จริง.
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
โดย นายคันฉัตร ตันเสถียร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
Evaluation of Thailand Master Plan
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นโยบายและการ ขับเคลื่อน วัตถุประสงค์ หลัก.
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
ค่าใช้จ่ายสำรองเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ งบกลาง 58,000 ล้านบาท.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
จะช่วยแก้ปัญหาเศรษฐกิจและสังคม ให้มีความอยู่ดี กินดี มีสุข อุดมการณ์สหกรณ์ อุดมการณ์สหกรณ์ คือ แนวความคิดที่เชื่อว่าหลักการและวิธีการสหกรณ์ จะช่วยแก้ปัญหาเศรษฐกิจและสังคม.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ แผนงานปี 2557 สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ แผนงานปี 2557.
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายและการขับเคลื่อน โดย.. บริสุทธิ์ เปรมประพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์

วาระแห่งชาติ ด้านการสหกรณ์ กรอบการนำเสนอ ? ? ? ? ทำไมต้องมี วาระแห่งชาติ ด้านการสหกรณ์ การสหกรณ์ คืออะไร ยุทธศาสตร์และ แนวทางการ ดำเนินงาน วาระแห่งชาติ ด้านการสหกรณ์ มีอะไรบ้าง ภาคสหกรณ์ จะร่วมขับเคลื่อน วาระแห่งชาติ ด้านการสหกรณ์ ได้อย่างไร

เป็นการสร้างการมีส่วนร่วม ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกันของประชาชน เหตุผลและความจำเป็น 1 2 3 สหกรณ์ไทยได้รับการยอมรับว่าเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาประเทศโดยกำหนดอยู่ในรัฐธรรมนูญและนโยบายของรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง สหกรณ์เป็นกลไกสำคัญ ในการสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มเศรษฐกิจและสังคมทั้งในชนบทและ ในเมืองของประเทศไทย สหกรณ์ เป็นการสร้างการมีส่วนร่วม ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกันของประชาชน 3

เหตุผลและความจำเป็น (ต่อ) 4 5 สหกรณ์เป็นกลไก สร้างการเรียนรู้วิถีแห่งประชาธิปไตยในระยะยาว ยอมรับความคิดเห็น ของคนส่วนใหญ่ เป็นการ ปูพื้นฐานความรู้ ด้านการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย ระบบสหกรณ์มีอุดมการณ์ หลักการและวิธีการสหกรณ์สามารถแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกโดยการช่วยตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกันสอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4

เหตุผลและความจำเป็น (ต่อ) 6 7 สหกรณ์เป็นองค์กรที่เป็นสากลและเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ รัฐได้ใช้สหกรณ์เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องมือในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ตั้งแต่ปี 2459 และระบบสหกรณ์ดำเนินงานมาจะครบ 100 ปี ในปี 2559 5

การพิจารณาประกาศวาระแห่งชาติด้านการสหกรณ์ของคณะรัฐมนตรี มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2555 ณ จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีมติเห็นชอบในหลักการยุทธศาสตร์ และแนวทางในการดำเนินงานตามข้อเสนอวาระแห่งชาติ ด้านการสหกรณ์ และให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ตามยุทธศาสตร์และแนวทางในการดำเนินงาน ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอ

วัตถุประสงค์หลัก เพื่อให้ประชาชนในชาติรับรู้และเข้าใจการสหกรณ์ พร้อมทั้งนำไปใช้ในวิถีชีวิตและการดำเนินงานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยอย่างยั่งยืนต่อไป

พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “...ควรที่จะมีการแพร่ขยาย ให้ใช้ระบบสหกรณ์ขึ้นทั่วประเทศ เนื่องจากวิธีการสหกรณ์นั้นเอง เป็นรากฐานที่ดีของระบอบประชาธิปไตยอย่างสำคัญสอนให้คนรู้จักรับผิดชอบร่วมกัน ให้มีการเลือกตัวแทนเข้าไปบริหารสหกรณ์ ตลอดจนให้รู้ถึงคุณค่าของประโยชน์อันจะได้ร่วมกันเป็นส่วนรวม...”  พระราชทานแก่ผู้นำสหกรณ์ภาคการเกษตรทั่วประเทศ ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ 12 พฤษภาคม 2520

การสหกรณ์คืออะไร อุดมการณ์ คุณค่า หลักการ วิธีการ ความหมาย

โดยการดำเนินวิสาหกิจ องค์กรอิสระ ของบุคคล เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สหกรณ์ โดยการดำเนินวิสาหกิจ รวมกันด้วย ความสมัครใจ เพื่อสนองความต้องการและจุดหมายร่วมกัน ความหมาย เป็นเจ้าของร่วมกัน ควบคุมตามแนวทาง ประชาธิปไตย

โดยสืบทอดประเพณีปฏิบัติของผู้ที่ริเริ่มการสหกรณ์ ค่านิยม/คุณค่า การช่วยเหลือตนเอง ความรับผิดชอบต่อตนเอง ประชาธิปไตย ความเสมอภาค ความเที่ยงธรรม ความเป็นเอกภาพ สหกรณ์ อยู่บน พื้นฐาน สมาชิก จริยธรรมแห่งความสุจริต ความเปิดเผย ความรับผิดชอบต่อสังคม การเอื้ออาทรต่อผู้อื่น เชื่อมั่น ใน โดยสืบทอดประเพณีปฏิบัติของผู้ที่ริเริ่มการสหกรณ์ 11

ที่มา : International Cooperative Alliance-ICA 23 กันยายน 2538 อุดมการณ์สหกรณ์ แนวความคิดที่เชื่อว่าวิธีการสหกรณ์จะช่วยแก้ ปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมของมวลสมาชิกให้มีความอยู่ดีกินดีและมีสันติสุข โดยการช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ที่มา : International Cooperative Alliance-ICA 23 กันยายน 2538 12

หลักการสหกรณ์ (Cooperative Principles) การเป็นสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย แนวทางที่สหกรณ์ยึดถือปฏิบัติเพื่อให้คุณค่าสหกรณ์เกิดผลเป็นรูปธรรม การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของสมาชิก การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ การศึกษา ฝึกอบรมและสารสนเทศ การร่วมมือระหว่างสหกรณ์ การเอื้ออาทรต่อชุมชน 13

วิธีการสหกรณ์ (Cooperative Practices) “การนำหลักการมาประยุกต์ใช้ วิธีการสหกรณ์ คือ “การนำหลักการมาประยุกต์ใช้ ในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อประโยชน์ของมวลสมาชิกและชุมชน โดยไม่ละเลยหลักการธุรกิจที่ดี” 14

วาระแห่งชาติด้านการสหกรณ์ ยุทธศาสตร์ และ แนวทางการดำเนินงาน วาระแห่งชาติด้านการสหกรณ์ 15

ยุทธศาสตร์วาระแห่งชาติด้านสหกรณ์ 1 สร้างและพัฒนาการเรียนรู้และทักษะการสหกรณ์สู่วิถีชีวิตประชาชนในชาติ 2 สนับสนุนและพัฒนาการรวมกลุ่มของประชาชนด้วยวิธีการสหกรณ์ให้เป็นฐานรากสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 3 เพิ่มศักยภาพการเชื่อมโยงเครือข่ายระบบการผลิต การตลาดและการเงินของสหกรณ์ 16

ยุทธศาสตร์วาระแห่งชาติด้านสหกรณ์ 4 สนับสนุนแผนพัฒนาการสหกรณ์ให้เป็นเครื่องมือในการสร้าง ความเข้มแข็งของขบวนการสหกรณ์ 5 ปฏิรูปโครงสร้าง หน่วยงานภาครัฐ ขบวนการสหกรณ์และปรับปรุง กฎหมายสหกรณ์ ให้เอื้อต่อการพัฒนา 17

สร้างและพัฒนาการเรียนรู้และทักษะการสหกรณ์ สู่วิถีชีวิตประชาชนในชาติ ยุทธศาสตร์ Text ext ที่ 1 สร้างและพัฒนาการเรียนรู้และทักษะการสหกรณ์ สู่วิถีชีวิตประชาชนในชาติ เพื่อทำให้เกิดองค์ความรู้ และทักษะเรื่องการสหกรณ์ แก่ประชาชนทั้งที่อยู่ในระบบการศึกษา นอกระบบการศึกษา จนเกิดความรู้ ความเข้าใจ ศรัทธาเชื่อมั่นในระบบสหกรณ์ และได้นำไปใช้ในการดำรงชีวิตเป็นการแก้ไขปัญหาแก่ชาติ ได้ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมได้ในทุกระดับ 18

กลยุทธ์ 1.1 1 1.2 ผลักดันการจัดการเรียนรู้ ในระบบการศึกษา และทักษะการสหกรณ์สู่วิถีชีวิตประชาชน ในระบบการศึกษา สร้างและพัฒนา การเรียนรู้และ ทักษะการสหกรณ์ สู่วิถีชีวิตประชาชนในชาติ 1 1.2 สร้างและผลักดันการจัดการเรียนรู้ และทักษะการสหกรณ์สู่วิถีชีวิตประชาชน นอกระบบการศึกษา 19

ผลักดันการจัดการเรียนรู้และทักษะการสหกรณ์ สู่วิถีชีวิตประชาชนในระบบการศึกษา กลยุทธ์ 1.1 กำหนดการเรียนรู้การสหกรณ์เข้าสู่ระบบการศึกษา สร้างองค์ความรู้เรื่องการสหกรณ์ เสริมสร้างทักษะการสหกรณ์ โดยกำหนดหลักสูตรการสหกรณ์ไว้ในระบบการศึกษา ทุกประเภท ทุกรูปแบบการศึกษา ทุกระดับชั้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้การสหกรณ์ตั้งแต่วัยเด็กอย่างต่อเนื่อง และสามารถ ใช้การสหกรณ์ในวิถีชีวิตได้ แผนงาน ที่ 1.1.1 เป้าหมาย 20

ผลักดันการจัดการเรียนรู้และทักษะการสหกรณ์ สู่วิถีชีวิตประชาชนในระบบการศึกษา กลยุทธ์ 1.1 จัดกิจกรรมเพื่อสร้างทักษะเรื่องการสหกรณ์ พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะการเรียนรู้ โดยการปฏิบัติจริงให้แก่ นักเรียน นักศึกษา ฯ ซึ่งจะทำให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความชำนาญ ควบคู่กัน ได้อย่างถูกต้องตามอุดมการณ์ หลักการและวิธีการสหกรณ์ แผนงาน ที่ 1.1.2 เป้าหมาย 21

เพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง และขยายผล อย่างยั่งยืนในการจัดการเรียนรู้ ผลักดันการจัดการเรียนรู้และทักษะการสหกรณ์ สู่วิถีชีวิตประชาชนในระบบการศึกษา กลยุทธ์ 1.1 สนับสนุนการจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ เพื่อความยั่งยืนในสถานศึกษา เพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง และขยายผล อย่างยั่งยืนในการจัดการเรียนรู้ การเรียนรู้การสหกรณ์ในสถานศึกษา ทุกประเภท ทุกระดับ ทุกพื้นที่ โดยขบวนการสหกรณ์มีส่วนร่วม แผนงาน ที่ 1.1.3 เป้าหมาย 22

สร้างและผลักดันการจัดการเรียนรู้และทักษะการสหกรณ์ สู่วิถีชีวิตประชาชนนอกระบบการศึกษา กลยุทธ์ 1.2 ยกระดับการเรียนรู้การสหกรณ์ในขบวนการสหกรณ์ เพื่อยกระดับความรู้เรื่องการสหกรณ์ ความสามารถในการบริหารงาน การดำเนินงาน การตรวจสอบสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความโปร่งใส มีคุณภาพ มั่นคง เข้มแข็ง เป็นที่พึงของสมาชิกตามวัตถุประสงค์ ในการจัดตั้งสหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร และนำไปใช้ในวิถีชีวิต แผนงาน ที่ 1.2.1 เป้าหมาย 23

สร้างและผลักดันการจัดการเรียนรู้และทักษะการสหกรณ์ สู่วิถีชีวิตประชาชนนอกระบบการศึกษา กลยุทธ์ 1.2 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจการสหกรณ์ สู่หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน เพื่อให้เจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐทุกระดับ ภาคเอกชน องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการสหกรณ์ เพื่อใช้ในการส่งเสริม สนับสนุน แนะนำและบูรณาการ เพื่อให้การสหกรณ์เผยแพร่ได้อย่างทั่วถึง ถูกต้อง สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/และองค์กรชุมชนและประชาชน ได้นำอุดมการณ์ หลักการ วิธีการสหกรณ์ ไปใช้ ในวิถีชีวิตได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและมีคุณค่า แผนงาน ที่ 1.2.2 เป้าหมาย 24

สร้างและผลักดันการจัดการเรียนรู้และทักษะการสหกรณ์ สู่วิถีชีวิตประชาชนนอกระบบการศึกษา กลยุทธ์ 1.2 ถ่ายทอดความรู้การสหกรณ์ สู่ผู้นำชุมชนองค์กรประชาชน เพื่อให้ผู้นำชุมชน ผู้นำกลุ่มองค์กร ภาคประชาชนในระดับต่างๆ ทั้งที่เป็นกลุ่มตามกฎหมายและกลุ่มธรรมชาติ หรือกลุ่มเฉพาะกิจที่มีอยู่ ได้มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการสหกรณ์ เพื่อเป็นเครือข่ายในการเผยแพร่ สนับสนุน และนำไปใช้ในวิถีชีวิต แผนงาน ที่ 1.2.3 เป้าหมาย 25

เพื่อให้ประชาชนทั่วไปได้ รับรู้ รับทราบ สร้างและผลักดันการจัดการเรียนรู้และทักษะการสหกรณ์ สู่วิถีชีวิตประชาชนนอกระบบการศึกษา กลยุทธ์ 1.2 เผยแพร่ความรู้การสหกรณ์สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนทั่วไปได้ รับรู้ รับทราบ และมีความรู้เพิ่มขึ้นในเรื่องการสหกรณ์ แผนงาน ที่ 1.2.4 เป้าหมาย 26

สร้างและผลักดันการจัดการเรียนรู้และทักษะการสหกรณ์ สู่วิถีชีวิตประชาชนนอกระบบการศึกษา กลยุทธ์ 1.2 สร้างและสนับสนุน การจัดการเรียนรู้ การสหกรณ์เพื่อความยั่งยืน เพื่อให้การเผยแพร่เรื่องการสหกรณ์ มีมาตรฐาน มีคุณภาพ ดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืนเป็นระบบ แผนงาน ที่ 1.2.5 เป้าหมาย 27

สนับสนุนและพัฒนาการรวมกลุ่มของประชาชนด้วยวิธีการสหกรณ์ ยุทธศาสตร์ ที่ 2 สนับสนุนและพัฒนาการรวมกลุ่มของประชาชนด้วยวิธีการสหกรณ์ ให้เป็นฐานรากสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การสนับสนุนและพัฒนาการรวมกลุ่มของประชาชน จะทำให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง โดยเริ่มจากการทำให้ครัวเรือนซึ่งเป็นหน่วยเศรษฐกิจที่เล็กที่สุด สามารถพึ่งพาตนเองได้บนความพอเพียงโดยใช้วิธีการสหกรณ์ในวิถีชีวิต และสนับสนุนครัวเรือนให้เกิดการรวมกลุ่มให้สอดคล้องกับศักยภาพภูมิปัญญา วัฒนธรรมท้องถิ่นและความต้องการแก้ปัญหาของคนในชุมชนในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อก่อให้เกิดการเพิ่มมูลค่าของทรัพยากร การสร้างงาน สร้างรายได้ และสวัสดิการของคนในชุมชน 28

กลยุทธ์ 2 2.1 2.2 สร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มเศรษฐกิจ และสังคมในชุมชนโดยใช้วิธีการสหกรณ์ เป็นแนวทางในการดำเนินงาน สนับสนุนและพัฒนา การรวมกลุ่มของประชาชน ด้วยวิธีการสหกรณ์ ให้เป็นฐานรากสำคัญ ในการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม 2 2.2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ใช้ระบบสหกรณ์เป็นกลไก ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 29

เพื่อให้ผู้นำชุมชน ผู้นำกลุ่ม และกรรมการหมู่บ้าน มีความรู้ความเข้าใจ สร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน โดยใช้วิธีการสหกรณ์ เป็นแนวทางในการดำเนินงาน กลยุทธ์ 2.1 ถ่ายทอดความรู้ด้านการสหกรณ์แก่เจ้าหน้าที่ภาครัฐระดับตำบลและผู้นำชุมชน เพื่อให้ผู้นำชุมชน ผู้นำกลุ่ม และกรรมการหมู่บ้าน มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องการสหกรณ์ และนำไปเผยแพร่ สู่ประชาชน ให้เกิดการนำระบบสหกรณ์ ไปใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมในท้องถิ่น แผนงาน ที่ 2.1.1 เป้าหมาย 30

กลุ่มเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน มีการบริหารจัดการภายในกลุ่ม สร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน โดยใช้วิธีการสหกรณ์ เป็นแนวทางในการดำเนินงาน กลยุทธ์ 2.1 การขับเคลื่อนวิธีการสหกรณ์สู่ชุมชน กลุ่มเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน มีการบริหารจัดการภายในกลุ่ม ด้วยวิธีการสหกรณ์ แผนงาน ที่ 2.1.2 เป้าหมาย 31

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นหน่วยงานในการสนับสนุนส่งเสริม ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ใช้ระบบสหกรณ์เป็นกลไกในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม กลยุทธ์ 2.2 แผนงานส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ใช้ระบบสหกรณ์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นหน่วยงานในการสนับสนุนส่งเสริม พัฒนากลุ่มเศรษฐกิจและสังคม ในชุมชนที่รวมตัวกันด้วยวิธีการสหกรณ์ แผนงาน ที่ 2.2.1 เป้าหมาย 32

เพิ่มศักยภาพการเชื่อมโยงเครือข่าย ยุทธศาสตร์ ที่ 3 เพิ่มศักยภาพการเชื่อมโยงเครือข่าย ระบบการผลิต การตลาด และการเงินของสหกรณ์ การเชื่อมโยงเครือข่ายในด้านการผลิต การตลาด และด้านการเงินของสหกรณ์อย่างเป็นระบบย่อมสามารถเพิ่มปริมาณธุรกิจของขบวนการสหกรณ์ได้มากขึ้น และจะก่อให้เกิดประโยชน์แก่มวลสมาชิกให้สามารถเข้าถึงแหล่งทุน ลดค่าใช้จ่าย และเพิ่มรายได้ เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิก สร้างความเข้มแข็งของระบบเศรษฐกิจและรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดังนั้น ระบบสหกรณ์จึงเป็นวิธีหนึ่งในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมตั้งแต่ระดับชุมชนจนถึงระดับประเทศและระดับอาเซียน 33

กลยุทธ์ 3.1 3 เพิ่มศักยภาพ การเชื่อมโยงเครือข่าย ระบบการผลิต การตลาด สร้างเครือข่ายกลุ่มผู้ผลิตสินค้าคุณภาพ เพื่อยกระดับสินค้าสหกรณ์ให้ได้มาตรฐาน เพิ่มศักยภาพ การเชื่อมโยงเครือข่าย ระบบการผลิต การตลาด และการเงินของสหกรณ์ 3 3.2 สร้างเครือข่ายการตลาดสินค้าสหกรณ์ 3.3 เชื่อมโยงเครือข่ายทางการเงินสหกรณ์ 34

สร้างเครือข่ายกลุ่มผู้ผลิตสินค้าคุณภาพเพื่อยกระดับ สินค้าสหกรณ์ให้ได้มาตรฐาน กลยุทธ์ 3.1 แผนงานจัดตั้ง กลุ่มผู้ผลิตคุณภาพ ส่งเสริมการรวมกลุ่มของประชาชน สนับสนุนให้กลุ่มที่มีศักยภาพและความพร้อมพัฒนาเป็นกลุ่มผู้ผลิตคุณภาพ ผลิตวัตถุดิบ สินค้า อาหาร และหัตถกรรม ฯลฯ และสร้างเครือข่ายกลุ่มผู้ผลิตคุณภาพ แผนงาน ที่ 3.1.1 เป้าหมาย 35

สร้างเครือข่ายการตลาดสินค้าสหกรณ์ กลยุทธ์ 3.2 แผนงานจัดตั้งศูนย์กลางการค้าสินค้าสหกรณ์ Cooperative International Trading Center : CITC มีองค์กรกลางที่ทำหน้าที่เชื่อมโยงเครือข่ายการตลาดสินค้าสหกรณ์ในระดับจังหวัด และระดับประเทศ แผนงาน ที่ 3.2.1 เป้าหมาย 36

สร้างเครือข่ายการตลาดสินค้าสหกรณ์ กลยุทธ์ 3.2 การสร้าง ตราสินค้าสหกรณ์ Co-op Brand สนับสนุนสินค้าสหกรณ์ที่ผลิตได้ตามมาตรฐาน ให้มีตราสินค้าสหกรณ์ (Co-op Brand) เพื่อสร้างคุณค่าในชนิดสินค้าและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ ตลอดจนให้สหกรณ์นำไปใช้ในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์สินค้า แผนงาน ที่ 3.2.2 เป้าหมาย 37

เชื่อมโยงเครือข่ายทางการเงินสหกรณ์ กลยุทธ์ 3.3 จัดตั้งศูนย์กลางการเงินของสหกรณ์ Central Financial Facility : CFF (Central Financial Facility : CFF) เพื่อทำหน้าที่บริหารจัดการการเงินของสหกรณ์ ทุกประเภท สร้างระบบคุ้มครองเงินฝาก และมีระบบการบริหารความเสี่ยงที่มีคุณภาพ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่สมาชิก และประชาชนทั่วไป แผนงาน ที่ 3.3.1 เป้าหมาย 38

สนับสนุนแผน พัฒนาการสหกรณ์ให้เป็นเครื่องมือ ยุทธศาสตร์ Text ext ที่ 4 สนับสนุนแผน พัฒนาการสหกรณ์ให้เป็นเครื่องมือ ในการสร้างความเข้มแข็งของขบวนการสหกรณ์ จากแผนพัฒนาการสหกรณ์ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2545 - 2549) และ 2 (พ.ศ.2550 - 2554) ที่ผ่านมาภาครัฐยังให้การสนับสนุนงบประมาณ ไม่เพียงพอและต่อเนื่องในการขับเคลื่อนสหกรณ์ตามที่กำหนดไว้ในแผนพัฒนาการสหกรณ์ ดังนั้น เพื่อให้แผนพัฒนาการสหกรณ์สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างความเข้มแข็งของขบวนการสหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภาครัฐควรให้การสนับสนุนแผนพัฒนาการสหกรณ์สู่การปฏิบัติอย่างจริงจังและต่อเนื่อง 39

กลยุทธ์ 4 สนับสนุนแผนพัฒนา 4.1 การสหกรณ์ให้เป็นเครื่องมือ ในการสร้างความเข้มแข็ง ของขบวนการสหกรณ์ 4 4.1 ผลักดันแผนพัฒนาการสหกรณ์ สู่การปฏิบัติ 40

ผลักดันแผนพัฒนาการสหกรณ์สู่การปฏิบัติ กลยุทธ์ 4.1 ผลักดันให้มีการนำแผนพัฒนาการสหกรณ์ ไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องสามารถประสานความร่วมมือและบูรณาการ เพื่อการนำแผนพัฒนาการสหกรณ์ ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2555 - 2559) ไปสู่การปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรม แผนงาน ที่ 4.1.1 เป้าหมาย 41

ปฏิรูปโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ ขบวนการสหกรณ์ ยุทธศาสตร์ Text ที่ 5 ปฏิรูปโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ ขบวนการสหกรณ์ และปรับปรุงกฎหมายสหกรณ์ให้เอื้อต่อการพัฒนา การปฏิรูปหน่วยงานภาครัฐที่ทำหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์มุ่งที่จะปรับปรุงหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องให้มีความเป็นเอกภาพในการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ โดยมีเป้าหมาย ที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหน่วยงาน มีผลทำให้ต้องมีการปรับปรุงกฎหมายสหกรณ์ให้สอดคล้องกับโครงสร้างของหน่วยงานที่จะปฏิรูปด้วย ในขณะเดียวกันกรมส่งเสริมสหกรณ์จะทำการศึกษากฎหมายสหกรณ์ที่มีอยู่ในปัจจุบันเพื่อพิจารณาว่ากฎหมายมาตราใด ส่วนใดเป็นปัญหาหรืออุปสรรคการพัฒนาสหกรณ์ โดยมีเป้าหมายที่จะพัฒนาและปรับปรุงกฎหมายให้เอื้อต่อการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ให้เข้มแข็งและอยู่ภายใต้หลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ 42

กลยุทธ์ 5 ปฏิรูปโครงสร้าง หน่วยงานภาครัฐ ขบวนการสหกรณ์ และปรับปรุง 5.1 การปฏิรูปโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ ที่เกี่ยวกับงานส่งเสริมสหกรณ์ ปฏิรูปโครงสร้าง หน่วยงานภาครัฐ ขบวนการสหกรณ์ และปรับปรุง กฎหมายสหกรณ์ ให้เอื้อต่อการพัฒนา 5 5.2 ปฏิรูปโครงสร้างสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย 5.3 ปรับปรุงโครงสร้างชุมนุมสหกรณ์ และสหกรณ์ 5.4 ปรับปรุงกฎหมายสหกรณ์ให้เอื้อต่อการส่งเสริมและ พัฒนาสหกรณ์ภายใต้หลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ ให้เหมาะสมกับสหกรณ์แต่ละประเภท 5.5 พัฒนาและปรับปรุงอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับกฎหมายสหกรณ์ ให้เอื้อต่อการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์ 43

การปฏิรูปโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวกับ งานส่งเสริมสหกรณ์ กลยุทธ์ 5.1 กำหนดยุทธศาสตร์สหกรณ์ไว้ในยุทธศาสตร์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อให้นโยบายด้านการส่งเสริมสหกรณ์ครอบคลุมสหกรณ์ทุกประเภท และปรากฏอยู่ในยุทธศาสตร์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมทั้งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แผนงาน ที่ 5.1.1 เป้าหมาย 44

การปฏิรูปโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวกับ งานส่งเสริมสหกรณ์ กลยุทธ์ 5.1 สร้างความร่วมมือ กับหน่วยงานภาครัฐ ที่มีภารกิจตรงกับวัตถุประสงค์หลัก ของสหกรณ์แต่ละประเภท สหกรณ์จะได้รับการสนับสนุนด้านความรู้ เทคนิควิชาการ ที่ตรงกับธุรกิจของสหกรณ์ แผนงาน ที่ 5.1.2 เป้าหมาย 45

การปฏิรูปโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวกับ งานส่งเสริมสหกรณ์ กลยุทธ์ 5.1 ผลักดันให้หน่วยงานที่ทำหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ให้เป็นหน่วยงานระดับกระทรวง ยกระดับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการทำหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ รวมเป็นหน่วยงานระดับกระทรวง แผนงาน ที่ 5.1.3 เป้าหมาย 46

ปฏิรูปโครงสร้างสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย กลยุทธ์ 5.2 ปรับเปลี่ยนโครงสร้างสันนิบาตสหกรณ์ แห่งประเทศไทย ให้เป็นสภาสหกรณ์แห่งชาติ ขบวนการสหกรณ์มีองค์กรนำ ที่มีความเข้มแข็ง มีความเป็นเอกภาพ แผนงาน ที่ 5.2.1 เป้าหมาย 47

ปรับปรุงโครงสร้างชุมนุมสหกรณ์ และสหกรณ์ กลยุทธ์ 5.3 ศึกษารูปแบบ และปรับปรุงโครงสร้างชุมนุมสหกรณ์ และสหกรณ์ ให้เหมาะสม ขบวนการสหกรณ์มีรูปแบบ โครงสร้าง การบริหารจัดการที่เหมาะสม และพัฒนาไปสู่สถาบันที่มีความเข้มแข็ง แผนงาน ที่ 5.3.1 เป้าหมาย 48

เป้าหมาย ปรับปรุงกฎหมายสหกรณ์ให้เอื้อต่อการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ ภายใต้หลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ ให้เหมาะสมกับสหกรณ์แต่ละประเภท กลยุทธ์ 5.4 กำหนดการปรับปรุงกฎหมายสหกรณ์ การปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้องกับ หลักการสหกรณ์ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ และเป็นหมวดหมู่ตามหลักการสหกรณ์สากล ทำให้สหกรณ์สามารถดำเนินงานภายใต้กรอบของกฎหมายที่เอื้อต่อการพัฒนาตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง เพื่อประโยชน์ และความสงบสุขทางสังคมของบรรดาสมาชิก แผนงาน ที่ 5.4.1 เป้าหมาย 49

พัฒนาและปรับปรุงอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับกฎหมายสหกรณ์ ให้เอื้อต่อการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์ กลยุทธ์ 5.5 พัฒนาและปรับปรุงอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายสหกรณ์ให้เอื้อต่อการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์ การพัฒนาและปรับปรุงอำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายสหกรณ์ เพื่อให้อำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของแต่ละส่วนที่เกี่ยวข้องไม่ซ้ำซ้อน และเป็นการสร้างเสริมซึ่งกันและกัน ทำให้การกำหนดแผนงาน งบประมาณ แนวทางการสนับสนุนพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้อย่างชัดเจน และสหกรณ์สามารถดำเนินงานภายใต้กรอบของกฎหมาย ที่เอื้อต่อการพัฒนาตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง แผนงาน ที่ 5.5.1 เป้าหมาย 50

ภาคสหกรณ์จะร่วมขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้านการสหกรณ์ได้อย่างไร ยุทธศาสตร์ ที่ 1 ยุทธศาสตร์ ที่ 2 ยุทธศาสตร์ ที่ 3 ยุทธศาสตร์ ที่ 4 สร้างและพัฒนา การเรียนรู้ และทักษะ การสหกรณ์ สู่วิถีชีวิต ประชาชนในชาติ สนับสนุนและ พัฒนาการรวมกลุ่ม ของประชาชน ด้วยวิธีการสหกรณ์ ให้เป็นฐานรากสำคัญ ในการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม เพิ่มศักยภาพการ เชื่อมโยงเครือข่าย ระบบการผลิต การตลาด และการเงิน ของสหกรณ์ สนับสนุนแผน พัฒนาการสหกรณ์ ให้เป็นเครื่องมือ ในการสร้างความ เข้มแข็งของ ขบวนการสหกรณ์

และเจ้าหน้าที่สหกรณ์ สร้างและพัฒนาการเรียนรู้และทักษะการสหกรณ์ สู่วิถีชีวิตประชาชนในชาติ ยุทธศาสตร์ ที่ 1 เป็นวิทยากรหรือผู้ถ่ายทอดความรู้ด้านการสหกรณ์แก่ผู้นำชุมชน เพื่อให้ผู้นำชุมชน ผู้นำกลุ่ม และกรรมการหมู่บ้าน มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการสหกรณ์ และนำไปเผยแพร่สู่ประชาชน ให้เกิดการนำระบบสหกรณ์ไปใช้ ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ในท้องถิ่น ส่งเสริมและพัฒนา การเรียนรู้เกี่ยวกับการสหกรณ์ในระดับสมาชิก ประธานกลุ่ม เลขานุการกลุ่ม กรรมการ และเจ้าหน้าที่สหกรณ์ 52

ส่งเสริมและสนับสนุนให้กลุ่มสมาชิก ดำเนินกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจและสังคม สนับสนุนและพัฒนาการรวมกลุ่ม ของประชาชนด้วยวิธีการสหกรณ์ให้เป็นฐานรากสำคัญ ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์ ที่ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้กลุ่มสมาชิก ดำเนินกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ในชุมชน เช่น การผลิต การแปรรูป การจำหน่าย การบริการ การขนส่ง การออม และการจัดสวัสดิการ 53

เพิ่มศักยภาพการเชื่อมโยงเครือข่ายระบบการผลิต การตลาดและการเงินของสหกรณ์ ยุทธศาสตร์ ที่ 3 พัฒนากลุ่มที่มีศักยภาพและความพร้อม พัฒนาเป็นกลุ่มผู้ผลิต คุณภาพ ผลิตวัตถุดิบ สินค้า อาหาร และหัตถกรรม ฯลฯ และ สร้างเครือข่ายกลุ่มผู้ผลิตคุณภาพ สนับสนุน และให้ความ ช่วยเหลือในการวางแผนการผลิต ให้กลุ่มผู้ผลิตสินค้าคุณภาพ ทำการผลิตวัตถุดิบหรือสินค้า ที่มีคุณภาพ (มีมาตรฐาน สะอาด และปลอดภัย) 54

สนับสนุนแผนพัฒนาการสหกรณ์ให้เป็นเครื่องมือ ในการสร้างความเข้มแข็งของขบวนการสหกรณ์ ยุทธศาสตร์ ที่ 3 สร้างเครือข่ายการแปรรูป เพื่อเพิ่มมูลค่าของสินค้า (เฉพาะสินค้าที่มีโอกาสทางการตลาด และสร้างมูลค่าเพิ่มโดยการแปรรูปได้) รวบรวมสินค้าจากกลุ่มผู้ผลิตสินค้าคุณภาพ ไปจัดจำหน่ายในตลาดท้องถิ่น หรือเครือข่ายผู้บริโภค หรือกระจายสินค้าไปตามช่องทาง ศูนย์กระจายสินค้าของสหกรณ์ 55

ใช้แผนพัฒนาการสหกรณ์ เป็นทิศทางในการพัฒนาสหกรณ์ สนับสนุนแผนพัฒนาการสหกรณ์ให้เป็นเครื่องมือ ในการสร้างความเข้มแข็งของขบวนการสหกรณ์ ยุทธศาสตร์ ที่ 4 ใช้แผนพัฒนาการสหกรณ์ เป็นทิศทางในการพัฒนาสหกรณ์ 56

ศูนย์ปฏิบัติการขับเคลื่อน วาระแห่งชาติด้านการสหกรณ์ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ศูนย์ปฏิบัติการขับเคลื่อน วาระแห่งชาติด้านการสหกรณ์ สำนักส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ ชั้น 4 กรมส่งเสริมสหกรณ์ เลขที่ 12 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร Tel. 0 2628 5527 และ 0 2282 5604 Fax. 0 2281 8280 E-mail : cpd_cepo@cpd.go.th

รวมพลังขับเคลื่อนสังคมไทย เพื่อการกินดี อยู่ดี มีสันติสุข และความเท่าเทียม จบการนำเสนอ