22 มีนาคม 2553 โรงแรมร้อยเกาะ อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฏร์ธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
โดย: นายทรงพล ทาเจริญ นักวิชาการเกษตร 7ว กลุ่มส่งเสริมการผลิตไม้ผล
รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับ เขต (RW) ครั้งที่ ๒ / ๒๕๕๖ และงานแสดงมุทิตาจิตผู้ เกษียณอายุราชการ ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ วันที่ ๒ - ๔ กันยายน ๒๕๕๖ ณ โรงแรมสตาร์
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
รายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ตัวชี้วัดตามแผนงานงบประมาณ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่
กองแผนงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ตำบลนาตงวัฒนา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
สถานการณ์ปัญหาการฆ่าตัวตายประเทศไทย
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
แผนงานจัดที่ดินทำกิน ปีงบประมาณ 2552 ที่ดินทำกิน 1.5 ล้านไร่ 100,000 ราย ภาค สำนักวิชาการและแผนงานติดตาม งาน ส. ป. ก. จังหวัด สจก. รวม ทั้งสิ้น ไตร มาส.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ประชุมผู้บริหารกรม ทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 4/2550 วันศุกร์ที่ 27 เมษายน 2550 เวลา น.
สรุปการปฏิบัติงาน พฤษภาคม นำสมาชิกสถานีพัฒนาการเกษตรที่สูง ฯม่อนล้านเข้าอบรมการแปรรูป เครื่องเงิน วันที่ 1-10.
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
ร้อยละ 50 มค. – 31 กค. 54 ช่วง ต่อเนื่อ ง (4,5 00) ร้อยละ 50 (4,5 00) เฉลี่ยจังหวัดละ ราย รายสุดท้าย แล้วเสร็จ 31 กค. 54 เป้าหมายบริการราก ฟันเทียม.
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
แนวทางการบริหารจัดการผลไม้ระยะยาว
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไม้ผลคุณภาพดี ปีงบประมาณ ๒๕๕๕
การออกใบรับรองเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2551 /52
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
พวกเรามีความเห็นว่า เป็นอย่างไร ?.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ ณ เดือนสิงหาคม 2553 สำนักงานประมงจังหวัด อุตรดิตถ์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2553 เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตร.
เป้าหมายการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด ปี 2547 ตัวชี้วัดผลการ ดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ หลัก 8. ระดับ ความสำเร็จของ การจัดทำ ทะเบียนเพื่อ แก้ไขปัญหา.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
1 การบริหารจัดการ เงินงบประมาณ และเงิน SP 2. 2 งบประมาณปี 2553 รายการจำนวนเงิน ( ล้าน บาท ) % งบบุคลากร 167, งบดำเนินงาน 8, งบลงทุน.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
โครงการบริหารจัดการผลไม้ ภาคตะวันออก ปี 2552 สำนักงานจังหวัดตราด ได้รับอนุมัติวงเงิน 6,200,000 บาท ดังนี้
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
ปฏิทินการประชุม คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค.ก.ค. ส.ค.ส.ค. ก.ย.ก.ย. ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค
กรกฎ ชยุตรารัตน์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมพัฒนาธุรกิจ
แผน / ผลการปฏิบัติงาน ประจำปี งบประมาณ พ. ศ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ / กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1- 4 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดตราด (1 ต. ค
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

22 มีนาคม 2553 โรงแรมร้อยเกาะ อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฏร์ธานี สถานการณ์ผลไม้ไทย ปี 2553 22 มีนาคม 2553 โรงแรมร้อยเกาะ อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฏร์ธานี สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 8 มีนาคม 2553

หัวข้อนำเสนอ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาผลไม้ปี 2553 สถานการณ์การผลิตผลไม้ไทยปี 2553 การกระจายผลผลิตในประเทศ การกระจายผลผลิตในต่างประเทศ ปริมาณและมูลค่าส่งออก รายชื่อพ่อค้าที่ต้องการผลไม้

แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาผลไม้ปี 2553 1.แนวทางการบริหารจัดการ -จังหวัดเป็นแกนหลักในการแก้ไขปัญหา -ไม่แทรกแซงราคาแต่สนับสนุนให้กลไกตลาดดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ - เน้นปรับปรุงคุณภาพเพิ่มปริมาณผลไม้คุณภาพดีให้มากขึ้น -เน้นกระจายผลไม้สดคุณภาพดีจากแหล่งผลิตถึงมือผู้บริโภคโดยรวดเร็ว

2. ปฏิทินการปฏิบัติงาน ผลไม้ภาคตะวันออกและลิ้นจี่ภาคเหนือ ผลไม้ภาคใต้และลำใยภาคเหนือ ส้มเขียวหวานภาคเหนือ 1.ประมาณผลผลิตล่วงหน้า ครั้งที่1 ม.ค ครั้งที่1 มี.ค ครั้งที่1 ก.ค ครั้งที่2 ก.พ ครั้งที่2 เม.ย ครั้งที่2 ส.ค 2.จัดทำแผน/โครงการ แก้ไขปัญหาระดับจังหวัด ภายใน ก.พ ภายในเม.ย ภายในส.ค

2. ปฏิทินการปฏิบัติงาน(ต่อ) ผลไม้ภาคตะวันออกและลิ้นจี่ภาคเหนือ ผลไม้ภาคใต้และลำใยภาคเหนือ ส้มเขียวหวานภาคเหนือ 3.บูรณาการแผนงาน/ โครงการระดับภาค 7 มี.ค 7 พ.ค 7 ก.ย 4.การขออนุมัติโครงการ และงบประมาณ 4.1 นำเสนอคณะกรรมการฯ 15 มี.ค 15 พ.ค 15 ก.ย 4.2 นำเสนอ คชก. 25 มี.ค 25 พ.ค 25 ก.ย

2. ปฏิทินการปฏิบัติงาน(ต่อ) ผลไม้ภาคตะวันออกและลิ้นจี่ภาคเหนือ ผลไม้ภาคใต้และลำใยภาคเหนือ ส้มเขียวหวานภาคเหนือ 5.อนุมัติงบประมาณให้จังหวัด 1 เม.ย 1 มิ.ย 1 ต.ค 6.ดำเนินงานและติดตาม ประเมินผล เม.ย-มิ.ย มิ.ย-ก.ย ต.ค-ก.พ 7.สรุปผลการดำเนิงาน ก.ย ธ.ค พ.ค

3.มาตรการดำเนินงาน พัฒนาคุณภาพ กระจายผลผลิตภายในประเทศ ผลักดันการส่งออก ส่งเสริมการแปรรูป ส่งเสริมการบริโภคภายในประเทศ ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ผลไม้ในต่างประเทศ

สถานการณ์การผลิตผลไม้ไทยปี 2553

ลิ้นจี่ สภาพอากาศหนาวเย็นไม่ต่อเนื่อง สลับร้อนสลับหนาว ทำให้ลิ้นจี่ สถานการณ์ลิ้นจี่ ปี 2553 ลิ้นจี่ สภาพอากาศหนาวเย็นไม่ต่อเนื่อง สลับร้อนสลับหนาว ทำให้ลิ้นจี่ ไม่ค่อยออกดอก ขณะนี้ลิ้นจี่ในพื้นที่ออกดอกแล้วกว่าร้อยละ 50 ผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากที่สุดกลางเดือน พ.ค. หน่วย : ตัน ปี 2552 ปี 2553 * %Δ 52-53 ภาคเหนือ 72,668 64,676 - 11.00 4 จังหวัดภาคเหนือ 70,251 62,366 - 11.22 เชียงใหม่ 27,922 26,752 - 4.19 เชียงราย 18,252 15,839 - 13.22 พะเยา 14,496 12,236 - 15.59 น่าน 9,581 7,539 - 21.31 รายละเอียดสถานการณ์ลิ้นจี่ภาคเหนือ ปี 2553 ปลาย พ.ย. – ธ.ค. สภาพอากาศหนาวเย็นไม่ต่อเนื่อง สลับร้อนสลับหนาว ทำให้ลิ้นจี่ ไม่ค่อยออกดอก ช่วงเดือนม.ค. มีอากาศหนาวเย็นสม่ำเสมอติดต่อกัน 3 สัปดาห์ ทำให้ลิ้นจี่ทยอยออกดอกมากขึ้น ขณะนี้ในพื้นที่แหล่งผลิตใหญ่ มีการออกดอกแล้วมากกว่าร้อยละ 50 ผลผลิตลิ้นจี่ ภาคเหนือ ปี 2553 เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่แล้ว ลดลงร้อยละ 11 สำหรับ 4 จังหวัดภาคเหนือ เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่แล้ว ลดลงร้อยละ 11.22 เปรียบเทียบผลผลิต ลิ้นจี่ 4 จังหวัดภาคเหนือ ปี 2553 กับปีที่แล้ว พบว่า ผลผลิตลิ้นจี่ลดลง ทั้ง 4 จังหวัด จ. เชียงใหม่ ลดลงร้อยละ 4 จ. เชียงราย ลดลงร้อยละ 13 จ. พะเยา ลดลงร้อยละ 16 และ จ. น่าน ลดลงร้อยละ 21 9

สถานการณ์ไม้ผลภาคเหนือ ปี 2553 ปริมาณผลผลิตลิ้นจี่ 4 จังหวัดภาคเหนือ ปี 2553 สัดส่วนผลผลิต ลิ้นจี่ รายจังหวัด เทียบกับปริมาณผลผลิตลิ้นจี่รวม 4 จังหวัดภาคเหนือ ปี 2553 : จ. เชียงใหม่ สัดส่วนผลผลิต ลิ้นจี่ คิดเป็นร้อยละ 43 ของปริมาณผลผลิตลิ้นจี่รวม 4 จังหวัดภาคเหนือ รองลงมา คือ จ. เชียงราย มีสัดส่วนผลผลิต ลิ้นจี่ คิดเป็นร้อยละ 25 ของปริมาณผลผลิตลิ้นจี่รวม 4 จังหวัดภาคเหนือ รองลงมา คือ จ. พะเยา มีสัดส่วนผลผลิต ลิ้นจี่ คิดเป็นร้อยละ 20 ของปริมาณผลผลิตลิ้นจี่รวม 4 จังหวัดภาคเหนือ และ จ. น่าน มีสัดส่วนผลผลิต ลิ้นจี่ คิดเป็นร้อยละ 12 ของปริมาณผลผลิตลิ้นจี่รวม 4 จังหวัดภาคเหนือ 10

ผลผลิตลิ้นจี่ 4 จังหวัดภาคเหนือ ปี 2553 ผลผลิตลิ้นจี่ 4 จังหวัดภาคเหนือ ปี 2553 หน่วย : ตัน ร้อยละของผลผลิตที่ออกสู่ตลาด ปี 2553 รวม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม 4 จังหวัดภาคเหนือ ร้อยละ 7.63 57.91 31.89 2.57 100.00 ปริมาณ 4,757 36,118 19,887 1,604 62,366 เชียงใหม่ ร้อยละ 4.00 45.00 6.00 1,070 12,039 26,752 เชียงราย ร้อยละ - 60.00 40.00 9,503 6,336 15,839 พะเยา ร้อยละ 24.00 76.00 2,937 9,299 12,236 น่าน ร้อยละ 9.95 70.00 20.05 750 5,277 1,512 7,539 ร้อยละของผลผลิตลิ้นจี่ 4 จังหวัดภาคเหนือ ปี 2553 ที่ออกสู่ตลาด ภาพรวมผลผลิตลิ้นจี่ 4 จังหวัดภาคเหนือ การกระจายตัวของผลผลิตที่จะออกสู่ตลาด เริ่มตั้งแต่ เดือนเมษายน ถึงเดือนกรกฎาคม โดยจะออกกระจุกตัวสูงสุดช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ร้อยละ 57.91 ของปริมาณผลผลิตลิ้นจี่รวม 4 จังหวัดภาคเหนือทั้งหมด หรือคิดเป็นปริมาณ 36,118 ตัน (ปริมาณทั้งหมด 62,366 ตัน) โดยเป็นผลผลิตลิ้นจี่ ของ จ. เชียงใหม่ การกระจายตัวของผลผลิตที่จะออกสู่ตลาด เริ่มตั้งแต่ เดือนเมษายน ถึงเดือนกรกฎาคม โดยจะออกกระจุกตัวสูงสุดช่วง 2 เดือนเท่ากัน คือ เดือนพฤษภาคม และมิถุนายน 2553 รวมร้อยละ 90 ของปริมาณผลผลิตลิ้นจี่ จ. เชียงใหม่ รวมทั้งหมด หรือคิดเป็นปริมาณผลผลิตรวม 24,078 ตัน (ปริมาณทั้งหมด 26,752 ตัน) ผลผลิตลิ้นจี่ของ จ. เชียงราย การกระจายตัวของผลผลิตที่จะออกสู่ตลาด เริ่มตั้งแต่ เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนมิถุนายน โดยจะออกกระจุกตัวสูงสุดช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ร้อยละ 60 ของปริมาณผลผลิตลิ้นจี่ จ. เชียงราย รวมทั้งหมด หรือคิดเป็นปริมาณ 9,503 ตัน (ปริมาณทั้งหมด 15,839 ตัน) ผลผลิตลิ้นจี่ของ จ. พะเยา การกระจายตัวของผลผลิตที่จะออกสู่ตลาด เริ่มตั้งแต่ เดือนเมษายน ถึงเดือนพฤษภาคม โดยจะออกกระจุกตัวสูงสุดช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ร้อยละ 76 ของปริมาณผลผลิตลิ้นจี่ จ. พะเยา รวมทั้งหมด หรือคิดเป็นปริมาณ 9,299 ตัน (ปริมาณทั้งหมด 12,236 ตัน) ผลผลิตลิ้นจี่ของ จ. น่าน การกระจายตัวของผลผลิตที่จะออกสู่ตลาด เริ่มตั้งแต่ เดือนเมษายน ถึงเดือนมิถุนายน โดยจะออกกระจุกตัวสูงสุดช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ร้อยละ 70 ของปริมาณผลผลิตลิ้นจี่ จ. น่าน รวมทั้งหมด หรือคิดเป็นปริมาณ 5,277 ตัน (ปริมาณทั้งหมด 7,539 ตัน) 11

สถานการณ์ไม้ผลภาคตะวันออก ปี 2553 สถานการณ์ไม้ผลภาคตะวันออก ปี 2553 ทุเรียน เนื้อที่ให้ผลลดลงจากเกษตรกรโค่นต้นทิ้ง เนื่องจากมีอายุมาก และต้นตายจากโรคโค่นเน่า และด้วงเจาะลำต้น ผลผลิตจะออกสู่ ตลาดมากที่สุดต้นเดือน พ.ค. มังคุด สภาพอากาศมีความชื้นเหมาะสม ทำให้มังคุดออกดอกติดผลมาก ผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากที่สุดต้นเดือน พ.ค. เงาะ สภาพอากาศเอื้ออำนวย ทำให้เงาะออกดอกมาก ผลผลิตจะออกสู่ ตลาดมากที่สุดปลายเดือน พ.ค. ลองกอง สภาพแวดล้อมเหมาะสม มีฝนตกในบางช่วง ทำให้ต้นลองกองมี ความสมบูรณ์ ผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากที่สุดต้นเดือน มิ.ย. รายละเอียดสถานการณ์ไม้ผลภาคตะวันออก ปี 2553 - ทุเรียน เนื้อที่ให้ผลลดลงจากเกษตรกรโค่นต้นทิ้ง เนื่องจากมีอายุมาก และต้นตายจากโรคโค่นเน่า และด้วงเจาะลำต้น ผลผลิตจะออกสู่ ตลาดมากที่สุดต้นเดือน พ.ค. - มังคุด สภาพอากาศมีความชื้นเหมาะสม ทำให้มังคุดออกดอกติดผลมาก ผลผลิตจะออกสู่ ตลาดมากที่สุดต้นเดือน พ.ค. - เงาะ สภาพอากาศเอื้ออำนวย ทำให้เงาะออกดอกมาก (กระทบแล้ง พ.ย. – ธ.ค. และมีฝนตกปลายเดือน ธ.ค.) ผลผลิตจะออกสู่ ตลาดมากที่สุดปลายเดือน พ.ค. - ลองกอง สภาพแวดล้อมเหมาะสม มีฝนตกในบางช่วง ทำให้ต้นลองกองมีความสมบูรณ์ ผลผลิตจะออกสู่ ตลาดมากที่สุดต้นเดือน มิ.ย. 12

สถานการณ์ทุเรียนภาคตะวันออก ปี 2553 สถานการณ์ทุเรียนภาคตะวันออก ปี 2553 หน่วย : ตัน ปี 2552 ปี 2553 * %Δ 52-53 3 จังหวัดภาคตะวันออก 343,473 332,160 - 3.29 จันทบุรี 217,194 219,677 1.14 ตราด 32,752 28,703 - 12.36 ระยอง 93,527 83,780 - 10.42 ผลผลิต ทุเรียน ของ 3 จังหวัดภาคตะวันออก ปี 2553 เปรียบเทียบผลผลิต ทุเรียน 3 จังหวัดภาคตะวันออก ปี 2553 กับปีที่แล้ว พบว่า ผลผลิต ทุเรียน จ. จันทบุรี เพิ่มขึ้นร้อยละ 1 สำหรับ ทุเรียนของ จ. ตราด และ จ. ระยอง ลดลงร้อยละ 12 และ 10 ตามลำดับ 13

สถานการณ์การผลิตไม้ผลภาคตะวันออก ปี 2553 ร้อยละของผลผลิตทุเรียนที่ออกสู่ตลาด ปี 2553 จังหวัด ร้อยละของผลผลิตทุเรียนที่ออกสู่ตลาด ปี 2553 รวม มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม จันทบุรี 1.03 23.60 55.04 20.33 - 100.00 ตราด 7.92 34.88 54.17 2.96 0.07 ระยอง 21.75 68.89 9.36 ร้อยละของผลผลิตทุเรียน รายจังหวัดภาคตะวันออก ปี 2553 ที่ออกสู่ตลาด ภาพรวมผลผลิตทุเรียน การกระจายตัวของผลผลิตที่จะออกสู่ตลาด เริ่มตั้งแต่ เดือนมีนาคม ถึงเดือนกรกฎาคม โดยจะออกกระจุกตัวสูงสุดช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ร้อยละ 58.46 ของปริมาณผลผลิตทุเรียนภาคตะวันออกรวมทั้งหมด หรือคิดเป็นปริมาณ 194,174 ตัน(ปริมาณทั้งหมด 332,160 ตัน) โดยเป็นผลผลิตทุเรียนของ จ. จันทบุรี การกระจายตัวของผลผลิตที่จะออกสู่ตลาด เริ่มตั้งแต่ เดือนมีนาคม ถึงเดือนมิถุนายน โดยจะออกกระจุกตัวสูงสุดช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ร้อยละ 55.04 ของปริมาณผลผลิตทุเรียน จ. จันทบุรี รวมทั้งหมด หรือคิดเป็นปริมาณ 120,910 ตัน(ปริมาณทั้งหมด 219,677 ตัน) ผลผลิตทุเรียนของ จ. ตราด การกระจายตัวของผลผลิตที่จะออกสู่ตลาด เริ่มตั้งแต่ เดือนมีนาคม ถึงเดือนกรกฎาคม โดยจะออกกระจุกตัวสูงสุดช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ร้อยละ 54.17 ของปริมาณผลผลิตทุเรียน จ. ตราด รวมทั้งหมด หรือคิดเป็นปริมาณ 15,548 ตัน(ปริมาณทั้งหมด 28,703 ตัน) ผลผลิตทุเรียนของ จ. ระยอง การกระจายตัวของผลผลิตที่จะออกสู่ตลาด เริ่มตั้งแต่ เดือนเมษายน ถึงเดือนมิถุนายน โดยจะออกกระจุกตัวสูงสุดช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ร้อยละ 68.89 ของปริมาณผลผลิตทุเรียน จ. ระยอง รวมทั้งหมด หรือคิดเป็นปริมาณ 57,716 ตัน(ปริมาณทั้งหมด 83,780 ตัน) 14

สถานการณ์มังคุดภาคตะวันออก ปี 2553 สถานการณ์มังคุดภาคตะวันออก ปี 2553 หน่วย : ตัน ปี 2552 ปี 2553 * %Δ 52-53 3 จังหวัดภาคตะวันออก 110,506 125,650 13.70 จันทบุรี 76,716 89,455 16.61 ตราด 20,867 22,721 8.88 ระยอง 12,923 13,474 4.26 ผลผลิต มังคุด ของ 3 จังหวัดภาคตะวันออก ปี 2553 เปรียบเทียบผลผลิต มังคุด 3 จังหวัดภาคตะวันออก ปี 2553 กับปีที่แล้ว พบว่า ผลผลิตเพิ่มขึ้น ทั้ง 3 จังหวัด จ. จันทบุรี เพิ่มขึ้นร้อยละ 17 จ. ตราด เพิ่มขึ้นร้อยละ 9 และ จ. ระยอง เพิ่มขึ้นร้อยละ 4 15

สถานการณ์การผลิตไม้ผลภาคตะวันออก ปี 2553 ปริมาณผลผลิตมังคุดรายจังหวัด ปี 2553 สัดส่วนผลผลิต มังคุดรายจังหวัด เทียบกับปริมาณผลผลิตมังคุดรวมทั้ง 3 จังหวัดภาคตะวันออก ปี 2553 : จ. จันทบุรี สัดส่วนผลผลิต มังคุด คิดเป็นร้อยละ 71 ของปริมาณผลผลิตมังคุดรวมทั้ง 3 จังหวัดภาคตะวันออก รองลงมา คือ จ. ตราด สัดส่วนผลผลิต มังคุด คิดเป็นร้อยละ 18 ของปริมาณผลผลิตมังคุดรวมทั้ง 3 จังหวัดภาคตะวันออก และ จ. ระยอง มีสัดส่วนผลผลิตน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 11 ของปริมาณผลผลิตมังคุด รวมทั้ง 3 จังหวัดภาคตะวันออก 16

สถานการณ์การผลิตไม้ผลภาคตะวันออก ปี 2553 ร้อยละของผลผลิตมังคุดที่ออกสู่ตลาดรายเดือน ปี 2553 จังหวัด ร้อยละของผลผลิตมังคุดที่ออกสู่ตลาดรายเดือน ปี 2553 รวม มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม จันทบุรี 0.17 17.20 62.48 20.15 - 100.00 ตราด 2.66 29.74 48.70 17.82 1.08 ระยอง 13.65 76.68 9.67 ร้อยละของผลผลิตมังคุด รายจังหวัดภาคตะวันออก ปี 2553 ที่ออกสู่ตลาด ภาพรวมผลผลิตมังคุด การกระจายตัวของผลผลิตที่จะออกสู่ตลาด เริ่มตั้งแต่ เดือนมีนาคม ถึงเดือนกรกฎาคม โดยจะออกกระจุกตัวสูงสุดช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ร้อยละ 61.51 ของปริมาณผลผลิตมังคุดภาคตะวันออกรวมทั้งหมด หรือคิดเป็นปริมาณ 77,290 ตัน(ปริมาณทั้งหมด 125,650 ตัน) โดยเป็นผลผลิตมังคุดของ จ. จันทบุรี การกระจายตัวของผลผลิตที่จะออกสู่ตลาด เริ่มตั้งแต่ เดือนมีนาคม ถึงเดือนมิถุนายน โดยจะออกกระจุกตัวสูงสุดช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ร้อยละ 62.48 ของปริมาณผลผลิตมังคุด จ. จันทบุรี รวมทั้งหมด หรือคิดเป็นปริมาณ 55,892 ตัน(ปริมาณทั้งหมด 89,455 ตัน) ผลผลิตมังคุดของ จ. ตราด การกระจายตัวของผลผลิตที่จะออกสู่ตลาด เริ่มตั้งแต่ เดือนมีนาคม ถึงเดือนกรกฎาคม โดยจะออกกระจุกตัวสูงสุดช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ร้อยละ 48.70 ของปริมาณผลผลิตมังคุด จ. ตราด รวมทั้งหมด หรือคิดเป็นปริมาณ 11,066 ตัน(ปริมาณทั้งหมด 22,721 ตัน) ผลผลิตมังคุดของ จ. ระยอง การกระจายตัวของผลผลิตที่จะออกสู่ตลาด เริ่มตั้งแต่ เดือนเมษายน ถึงเดือนมิถุนายน โดยจะออกกระจุกตัวสูงสุดช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ร้อยละ 76.68 ของปริมาณผลผลิตมังคุด จ. ระยอง รวมทั้งหมด หรือคิดเป็นปริมาณ 10,332 ตัน(ปริมาณทั้งหมด 13,474 ตัน) 17

สถานการณ์การผลิตไม้ผลภาคตะวันออก ปี 2553 ปริมาณผลผลิตมังคุดรายจังหวัด ปี 2553 สัดส่วนผลผลิต มังคุดรายจังหวัด เทียบกับปริมาณผลผลิตมังคุดรวมทั้ง 3 จังหวัดภาคตะวันออก ปี 2553 : จ. จันทบุรี สัดส่วนผลผลิต มังคุด คิดเป็นร้อยละ 71 ของปริมาณผลผลิตมังคุดรวมทั้ง 3 จังหวัดภาคตะวันออก รองลงมา คือ จ. ตราด สัดส่วนผลผลิต มังคุด คิดเป็นร้อยละ 18 ของปริมาณผลผลิตมังคุดรวมทั้ง 3 จังหวัดภาคตะวันออก และ จ. ระยอง มีสัดส่วนผลผลิตน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 11 ของปริมาณผลผลิตมังคุด รวมทั้ง 3 จังหวัดภาคตะวันออก 18

สถานการณ์การผลิตไม้ผลภาคตะวันออก ปี 2553 ร้อยละของผลผลิตมังคุดที่ออกสู่ตลาดรายเดือน ปี 2553 จังหวัด ร้อยละของผลผลิตมังคุดที่ออกสู่ตลาดรายเดือน ปี 2553 รวม มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม จันทบุรี 0.17 17.20 62.48 20.15 - 100.00 ตราด 2.66 29.74 48.70 17.82 1.08 ระยอง 13.65 76.68 9.67 ร้อยละของผลผลิตมังคุด รายจังหวัดภาคตะวันออก ปี 2553 ที่ออกสู่ตลาด ภาพรวมผลผลิตมังคุด การกระจายตัวของผลผลิตที่จะออกสู่ตลาด เริ่มตั้งแต่ เดือนมีนาคม ถึงเดือนกรกฎาคม โดยจะออกกระจุกตัวสูงสุดช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ร้อยละ 61.51 ของปริมาณผลผลิตมังคุดภาคตะวันออกรวมทั้งหมด หรือคิดเป็นปริมาณ 77,290 ตัน(ปริมาณทั้งหมด 125,650 ตัน) โดยเป็นผลผลิตมังคุดของ จ. จันทบุรี การกระจายตัวของผลผลิตที่จะออกสู่ตลาด เริ่มตั้งแต่ เดือนมีนาคม ถึงเดือนมิถุนายน โดยจะออกกระจุกตัวสูงสุดช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ร้อยละ 62.48 ของปริมาณผลผลิตมังคุด จ. จันทบุรี รวมทั้งหมด หรือคิดเป็นปริมาณ 55,892 ตัน(ปริมาณทั้งหมด 89,455 ตัน) ผลผลิตมังคุดของ จ. ตราด การกระจายตัวของผลผลิตที่จะออกสู่ตลาด เริ่มตั้งแต่ เดือนมีนาคม ถึงเดือนกรกฎาคม โดยจะออกกระจุกตัวสูงสุดช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ร้อยละ 48.70 ของปริมาณผลผลิตมังคุด จ. ตราด รวมทั้งหมด หรือคิดเป็นปริมาณ 11,066 ตัน(ปริมาณทั้งหมด 22,721 ตัน) ผลผลิตมังคุดของ จ. ระยอง การกระจายตัวของผลผลิตที่จะออกสู่ตลาด เริ่มตั้งแต่ เดือนเมษายน ถึงเดือนมิถุนายน โดยจะออกกระจุกตัวสูงสุดช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ร้อยละ 76.68 ของปริมาณผลผลิตมังคุด จ. ระยอง รวมทั้งหมด หรือคิดเป็นปริมาณ 10,332 ตัน(ปริมาณทั้งหมด 13,474 ตัน) 19

สถานการณ์เงาะภาคตะวันออก ปี 2553 สถานการณ์เงาะภาคตะวันออก ปี 2553 หน่วย : ตัน ปี 2552 ปี 2553 * %Δ 52-53 3 จังหวัดภาคตะวันออก 224,415 230,846 2.87 จันทบุรี 148,333 137,882 - 7.05 ตราด 61,755 77,651 25.74 ระยอง 14,327 15,313 6.88 ผลผลิต เงาะ ของ 3 จังหวัดภาคตะวันออก ปี 2553 เปรียบเทียบผลผลิต เงาะ 3 จังหวัดภาคตะวันออก ปี 2553 กับปีที่แล้ว พบว่า ผลผลิต จ. ตราด และ จ . ระยอง เพิ่มขึ้น ร้อยละ 26 และ 7 ตามลำดับ ส่วนมังคุดของ จ. จันทบุรี ลดลงร้อยละ 7 20

สถานการณ์การผลิตไม้ผลภาคตะวันออก ปี 2553 ปริมาณผลผลิตเงาะรายจังหวัด ปี 2553 สัดส่วนผลผลิต เงาะ รายจังหวัด เทียบกับปริมาณผลผลิตเงาะรวมทั้ง 3 จังหวัดภาคตะวันออก ปี 2553 : จ. จันทบุรี สัดส่วนผลผลิต เงาะ คิดเป็นร้อยละ 59 ของปริมาณผลผลิตเงาะรวมทั้ง 3 จังหวัดภาคตะวันออก รองลงมา คือ จ. ตราด สัดส่วนผลผลิต เงาะ คิดเป็นร้อยละ 34 ของปริมาณผลผลิตเงาะรวมทั้ง 3 จังหวัดภาคตะวันออก และ จ. ระยอง มีสัดส่วนผลผลิตน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 7 ของปริมาณผลผลิตเงาะ รวมทั้ง 3 จังหวัดภาคตะวันออก 21