การพูดในที่ชุมชน ภาสันต์ นุพาสันต์
ขั้นตอนการพูด ทักทาย เนื้อหาการพูด ขั้นนำเข้าเนื้อหา ปิดพูด
โครงสร้างการพูด คำนำ 5 - 10 % เนื้อเรื่อง 80 - 90 % สรุปจบ
ทักทาย ตอนเช้า แบบสดใส สายหน่อย แบบเพื่อน บ่ายแล้ว ฟังแล้วมีกำลังใจ ตอนเช้า แบบสดใส สายหน่อย แบบเพื่อน บ่ายแล้ว ฟังแล้วมีกำลังใจ เย็น อบอุ่น ดึก คึกคัก
หลักในการขึ้นต้นมีอยู่ว่า • ขึ้นต้นแบบพาดหัวข่าว (Headline) • ขึ้นต้นด้วยคำถาม (Asking Question) • ขึ้นต้นด้วยการทำให้ผู้ฟังสงสัย (Interest Arousing) • ขึ้นต้นด้วยการอ้างบทกวี หรือวาทะของผู้มีชื่อเสียง (Queuing) • ขึ้นต้นให้สนุกสนาน (Entertainment)
ปิดพูด • จบแบบสรุปความ • จบแบบฝากให้ไปคิด • จบแบบเปิดเผยตอนสำคัญ • จบแบบชักชวนและเรียกร้อง • จบด้วยคำคม คำพังเพย สุภาษิต
วิธีการพูดในที่ชุมชน พูดแบบท่องจำ พูดแบบมีต้นฉบับ พูดจากความเข้าใจ พูดแบบกะทันหัน
การเตรียมการพูด รู้งาน 2. รู้คน 3. รู้ทีมงาน 4. รู้วัสดุอุปกรณ์ 2. รู้คน 3. รู้ทีมงาน 4. รู้วัสดุอุปกรณ์ 5. รู้ตัวเอง
เตรียมให้พร้อม ซ้อมให้ดี ท่าทีสง่า วาจาไพเราะ สังเคราะห์ความรู้
ข้อแนะนำที่ไม่ควรพูด พูดเพื่อประโยชน์ส่วนตัว พูดแบบบรรยาย พูดคนเดียวไม่หยุด ไม่มีข้อสรุป พูดซ้ำ ๆ ในเรื่องใด เรื่องเดียว พูดแล้วสร้างปัญหา พูดออกแนวชมตัวเอง พูดเล่นมากไป พูดน้ำเสียงดังเกินไป พูดการเมือง