โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักการและเหตุผล การพัฒนาสหกรณ์ให้มีความเข้มแข็ง และดำเนินกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต้องยึดหลักการมีส่วนร่วมของสมาชิกเจ้าของสหกรณ์เป็นกลไกหลักของการดำเนินการ
แนวคิดในการปฏิบัติงานแบบเบ็ดเสร็จ - เบ็ดเสร็จ แปลว่าเกี่ยวเนื่องกันทั้งหมด - ทำกับทุกคน ที่เกี่ยวข้องในจุดที่จะทำ - ทำในสิ่งที่คนเข้าร่วมต้องรู้ข้อเท็จจริงทั้งหมด - ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนและเรียนรู้ร่วมกัน - ให้ผู้เกี่ยวข้องเกิดการยอมรับว่าต้องทำ..และช่วยกันทำ
ขั้นตอนและวิธีดำเนินการ
ขั้นตอนที่ 1 ตั้งคณะกรรมการ คัดเลือกสหกรณ์ เครื่องมือ
เกณฑ์การคัดเลือกสหกรณ์ 1. เป็นสหกรณ์ภาคการเกษตร 2. มีสมาชิกไม่ต่ำกว่า 500 คน และเป็น Active Members ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 40 3. สมัครใจพร้อมที่จะพัฒนา 4. วิเคราะห์แล้วสามารถพัฒนาได้ 5. อาจมีกำไร/ขาดทุนจากการดำเนินงานก็ได้ 6. อาจมีการทุจริต/ข้อบกพร่อง แต่แก้ไขแล้ว 7. ต้องมีเจ้าหน้าที่สหกรณ์ดำเนินการ
เครื่องมือ แบบประเมิน 360 องศา อัตราส่วนทางการเงิน ข้อมูลฐาน แบบ PRE – TEST, POST - TEST
ขั้นตอนที่ 2 “การวิเคราะห์ความเข้มแข็งของสหกรณ์” คณะกรรมการดำเนินการ ฝ่ายจัดการ จสส.ประจำจังหวัด จนท.ศูนย์ฯ /วิทยากร วัตถุประสงค์ เพื่อร่วมกันวิเคราะห์หาจุดอ่อนจุดแข็งของสหกรณ์ และกำหนดแนวทางและกิจกรรม ที่จะพัฒนาโดยอาศัยความร่วมมือจากสมาชิก
“การขยายแนวทางการพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์สู่ระดับกลุ่ม” ขั้นตอนที่ 3 “การขยายแนวทางการพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์สู่ระดับกลุ่ม” ประธาน/เลขานุการกลุ่ม ผู้นำกลุ่ม วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้บริหารระดับกลุ่ม รับทราบข้อมูล จุดอ่อน แนวทางที่ผู้บริหารสหกรณ์ได้กำหนด ร่วมพิจารณาความเป็นไปได้ของกลุ่ม
“การมีส่วนร่วมของสมาชิกสหกรณ์” สมาชิกสหกรณ์ ขั้นตอนที่ 4 “การมีส่วนร่วมของสมาชิกสหกรณ์” สมาชิกสหกรณ์ วัตถุประสงค์ กิจกรรมที่สหกรณ์จะดำเนินการ รับฟังแนวคิด ความต้องการของสมาชิก
ขั้นตอนที่ 5 สรุปเสนอคณะกรรมการเพื่อดำเนินการ
ขั้นตอนที่ 6 “การติดตามและประเมินผลการดำเนินการภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ” คณะกรรมการดำเนินการของสหกรณ์ ฝ่ายจัดการ จสส.ประจำจังหวัด จนท.ศูนย์ฯ /วิทยากร วัตถุประสงค์ ติดตามผลการปฏิบัติงานด้านการฝึกอบรม และการมีส่วนร่วมของสมาชิกสหกรณ์
ขั้นตอนที่ 7 ติดตามผลในปีการเงินต่อไปโดยสม่ำเสมอ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. สหกรณ์ได้รับการพัฒนาไปสู่การดำเนินงานที่มีความมั่นคงและเข้มแข็งอย่างยั่งยืน 2. สมาชิกสหกรณ์สนใจในกิจกรรมและ มีส่วนร่วมในกิจกรรมของสหกรณ์ มากยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPI) 1. ผู้ผ่านการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. สหกรณ์มีกิจกรรมอย่างน้อย 1 กิจกรรม และส่งเสริมให้ปริมาณธุรกิจที่เกี่ยวข้องเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 เปรียบเทียบในช่วงเดียวกัน
ทีมประกอบด้วย วิทยากรกระบวนการ วิเคราะห์งบการเงิน / ข้อมูลทั่วไป วิเคราะห์ 360 องศา การส่งเสริมสหกรณ์ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ธุรกิจ ฝ่ายเงินทุน
การวิเคราะห์และประเมินผล การบริหารจัดการสหกรณ์ แบบ 360 องศา ปี 2549
การวิเคราะห์และประเมินผล การบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกร แบบ 360 องศา ปี 2549
การวิเคราะห์และประเมินผล การบริหารจัดการสหกรณ์ แบบ 360 องศา ปี 2550
การวิเคราะห์และประเมินผล การบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกร แบบ 360 องศา ปี 2550