เพื่อสัมพันธภาพที่ดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักทั่วไปของเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาค ในเรื่องปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ปัจจัยกำหนดอุปสงค์และอุปทานของสินค้าพฤติกรรมผู้บริโภค ลักษณะสำคัญของตลาดสินค้าที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์
Advertisements

หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
โครงการ การพัฒนาอีคอร์สใน รายวิชาศึกษาสังเกตและการมี ส่วนร่วม Development of E-course on Observation and Participation in.
ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) การพัฒนารายวิชาหลักสูตรและการสอน ผ่านเว็บสำหรับนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีในสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี (ภาษาอังกฤษ) DEVELOPMENT.
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
ดิจิตอลและการออกแบบตรรก
แผนการจัดการเรียนรู้
ผู้สอน อาจารย์จุฬาวลี มณีเลิศ
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
« อาจารย์มนัสสินี บุญทำดี
( Organization Behaviors )
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะและการ วิเคราะห์นโยบาย
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
การอ่านและนำเสนอ เรื่องเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อองค์การ
การจัดการฐานข้อมูลเบื้องต้น (Database Management System)
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
จิตวิทยา ในชีวิตประจำวัน.
วิชา พฤติกรรมสุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพ (Health Bahavior and Health Promotion) 2 หน่วยกิต 2(2-0-1)
Multiple Intelligence
ชุดวิชา QM604 วิธีการวิจัยและพัฒนาคุณภาพ RESEARCH AND DEVELOPMENT IN QUALITY ผศ.ดร.กฤษดา กรุดทอง.
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
แผนการสอนรายวิชา (Lesson Plan)
โครงการสอนการถ่ายเทความร้อน
ชี้แจงวัตถุประสงค์ เนื้อหารายวิชา และหลักเกณฑ์ในการวัดผล
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
พื้นฐานการคิดเชิงระบบ (Fundamental Systems Thinking)
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การวิจัยธุรกิจและระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
หลักสูตรฝึกอบรม เทคนิคการวางแผนคนวางแผนงานสำหรับหัวหน้างาน
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การประชาสัมพันธ์เบื้องต้น (Introduction to Public Relations)
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
คำอธิบายรายวิชา 1.คำอธิบายรายวิชา (คัดจากเอกสารหลักสูตร)
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
ผู้วิจัย อาจารย์กัมพล ติปิน วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
ผู้วิจัย อาจารย์พิศมัย เดชคำรณ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
มศว 365 การจัดการสมัยใหม่ (Principles of Modern Management)
หลักนิเทศศาสตร์ (Principles of Communication Art) FCA1101
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร (Information Technology for Communication) อาจารย์สราวุฒิ จบศรี คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.2 ) สาขาการตลาด ปี การศึกษา 2555 ผู้วิจัย นายฉัตรชัย ภักดีนอก ตำแหน่ง อาจารย์ประจำฝ่ายวิชาการ.
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
รายงานผลการวิจัย.
จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น
ตรรกะพื้นฐานและการแก้ปัญหา Basic logic and Problem Solving 3(2-2-5)
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เพื่อสัมพันธภาพที่ดี จิตวิทยา เพื่อสัมพันธภาพที่ดี

อาจารย์ ดร.รังสรรค์ โฉมยา วท.ด (พฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์)

ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ ห้องทำงาน อาคารเอนกประสงค์ ห้อง 5601

โทรศัพท์ 0-4374-3143 ต่อ 116 0-4374-2823-31 ต่อ 1663 โทรสาร 0-4372-1746 อีเมล์ rungson.c@msu.ac.th เว็บไซด์ http://edu.msu.ac.th

จิตวิทยาเพื่อสัมพันธภาพที่ดี (Psychology for Good Relationship) แผนการสอนรายวิชา 502102 จิตวิทยาเพื่อสัมพันธภาพที่ดี (Psychology for Good Relationship) 2 ( 2-0-4 )

คำอธิบายรายวิชา ความหมาย หลักการ และ ทฤษฎีทางจิตวิทยาเกี่ยวกับ สัมพันธภาพระหว่างบุคคล

การวิเคราะห์ตนเองและผู้อื่น เพื่อเป็นพื้นฐานในการปรับปรุง ตนเองและพัฒนาสัมพันธภาพที่ดี

การสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับ บุคคลในสถาบันสังคมต่าง ๆ เช่น ในครอบครัว ระหว่าง ครอบครัว ผู้ร่วมงาน หรือ บุคคลในองค์กรต่าง ๆ

จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และ เข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎี และ หลักการพื้นฐานทางจิตวิทยา เกี่ยวกับสัมพันธภาพระหว่าง บุคคล

2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ ตนเองและผู้อื่นเพื่อเป็นพื้นฐาน ของการพัฒนาสัมพันธภาพที่ดี

3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา ทักษะเพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดี กับบุคคลอื่น ๆ

กำหนดเวลาสอน สัปดาห์ที่ 1 - ชี้แจงเกี่ยวกับความมุ่งหมายของ วิชา กติกาของห้อง และงานที่จะ ต้องทำ

สัปดาห์ที่ 2 - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา ความเชื่อพื้นฐาน (Basic Assumption) ของจิตวิทยากลุ่ม ต่างๆ วิธีการหาความรู้ทาง จิตวิทยา

สัปดาห์ที่ 3 - ความหมาย หลักการและทฤษฎี ทางจิตวิทยาเกี่ยวกับสัมพันธภาพ ระหว่างบุคคล

สัปดาห์ที่ 4-7 - หลักการและทฤษฎีทางจิตวิทยา เกี่ยวกับสัมพันธภาพระหว่างบุคคล เช่น จิตวิทยาบุคลิกภาพ - ทฤษฎีบุคลิกภาพของกลุ่ม จิตวิเคราะห์ เช่น ฟรอยด์, อีริคสัน

สัปดาห์ที่ 4-7 (ต่อ) - ทฤษฎีการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม เช่น ทฤษฎีหน้าต่างของโจฮารี - ทฤษฎีทางจิตวิทยาสังคม เช่น ทฤษฎีการระบุ

สัปดาห์ที่ 4-7 (ต่อ) - พฤติกรรมเชิงมนุษยสัมพันธ์ ทางจิตวิทยาสังคม เช่น พฤติกรรมการช่วยเหลือผู้อื่น, พฤติกรรมการชอบขอผู้อื่น

สัปดาห์ที่ 8 - สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 9-11 - การวิเคราะห์เพื่อความเข้าใจ ตนเอง และผู้อื่น

สัปดาห์ที่ 9-11 (ต่อ) - การวิเคราะห์ตนเองตามแนว จิตวิทยาพฤติกรรม เช่น ทฤษฎี Social Learning ทฤษฎี Self Control ทฤษฎี Self Management

สัปดาห์ที่ 9-11 (ต่อ) - การวิเคราะห์ตนเองตามแนวคิด จิตวิทยามนุษยนิยม เช่น ทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์ ทฤษฎี Self Concept ทฤษฎีการพัฒนาตน

สัปดาห์ที่ 12 - หลักการวิเคราะห์ตนเองตาม แนวจิตวิทยาเชิงพุทธ เช่น อิทธิบาท 4 อริยะสัจ 4 สัปปุริสธรรม7 มงคล 38 ประการ

สัปดาห์ที่ 13-15 การสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคล ในสถาบันต่างๆ - การสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่าง บุคคลในครอบครัว

สัปดาห์ที่ 13-16 (ต่อ) - การสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่าง บุคคลในองค์กรและบุคคลนอก องค์กร ประเทศ

สัปดาห์ที่ 17 - ทบทวนก่อนสอบ สัปดาห์ที่ 18 - สอบปลายภาค

กิจกรรมการเรียนการสอน 1. บรรยาย อภิปราย แบ่งกลุ่มย่อย 2. ค้นคว้าจากเอกสาร ตำรา งานวิจัย และ Internet 3. การบ้านและการทำแบบทดสอบ วิเคราะห์พฤติกรรมตนเอง

4. จัดป้ายนิเทศ 5. จัดกิจกรรมในชั้นเรียน 5. สอบ

การประเมินผล เวลาเรียน ความสนใจ ความร่วมมือในการเรียน (10%) 2. งานที่ได้รับมอบหมายและ รายงานหน้าชั้นเรียน (30%)

2.1 รายงาน (งานกลุ่ม 15%) 2.2 รายงาน (งานเดี่ยว 10%) 2.3 การบ้าน งานที่ให้ส่ง (5%)

3. การสอบกลางภาค (30%) 4. การสอบปลายภาค (30%)

เอกสารประกอบการเรียน 1. ตำรามนุษยสัมพันธ์ 2. ตำราจิตวิทยาสังคม 3. ตำราจิตวิทยาองค์การ 4. ตำราพุทธศาสนาในชีวิต ประจำวัน