อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Online Online การสืบค้นข้อมูล.
Education Research Complete
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
การใช้งานฐานข้อมูล Journal of Cosmetic Dermatology
ฐานข้อมูล Nursing Resource Center
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา
นางสาวมะลิวรรณ ระหูภา
พัฒนาเนื้อหาเว็บเนคเทค
Multimedia Search Siamguru Co., LTD.
E-Service รศ. ดร. อนงค์นาฏ ศรีวิหค สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มก.
การค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต SRARCH ENGINE
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE MODAL
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
AI02 กูเกิ้ล: กลไกการสืบค้นข้อมูลบนระบบอินเทอร์เน็ต Google: the Internet System Search Engine อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธวัชวงศ์ ลาวัลย์ โดย นางสาวธัญพร.
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
การสืบค้นข้อมูลบนระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Single Search คืออะไร ? เทคโนโลยีสืบค้นสารสนเทศรูปแบบใหม่ที่ สะดวก รวดเร็ว ลดขั้นตอนในการเข้าถึงสารสนเทศฉบับเต็ม ผู้รับบริการสืบค้นข้อมูลครั้งเดียว แต่ได้รับสารสนเทศที่ต้องการจากหลายๆ.
คอมพิวเตอร์สำหรับ นักศึกษาบัณฑิต (Computer for Graduate Students)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
E-Learning คืออะไร ? อะไรบ้างที่เป็น e-Learning คุณลักษณะของ e-Learning LMS : ระบบบริหารจัดการรายวิชาออนไลน์ การนำระบบ LMS ไปใช้งานในการเรียนการสอน.
Search Engine อ. กฤษฎา ศักดิ์คำดวง.
โอฬาริก สุรินต๊ะ CS/MIS
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
OPAC (Online Public Access Catalog)
อินเทอร์เน็ตคืออะไร? อินเทอร์เน็ต คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน มาจากคำว่า Inter Connection Network.
Search Engine.
ฐานข้อมูล 1. ฐานข้อมูลซีดีรอม เฉพาะตัวอักษร เช่น มัลติมีเดีย เช่น
WEB OPAC.
Jatuphum Juanchaiyaphum
อินเตอร์เน็ต INTERNET.
ในการนำ ICT มาใช้ในการเรียนรู้
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen)
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นสื่อการเรียนการสอนที่เกิดจากวิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโทรคมนาคม การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอนจะออกมาในลักษณะของสื่อประสม.
ปรับปรุงล่าสุด 20/01/53 สรุป ACM Digital Library โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค.
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์
อินเทอร์เน็ต สร้างสรรค์. หัดใช้โปรแกรม Office ง่ายๆ เช่น WORD และ EXCEL พักผ่อนคลายเครียดด้วยการเล่นเกมที่ เหมาะสม ลองสร้างและดูแลเว็บไซต์ของตนเอง กิจกรรม.
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์ อีสเทอร์น. เวลาทำการ A-FAR วันจันทร์ - ศุกร์ น. วันเสาร์ - อาทิตย์ น. U-FAR วันจันทร์ - ศุกร์
กิจกรรมที่ 17 เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 1. อธิบายหน้าที่เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 2. ใช้เว็บเบราว์เซอร์และโปรแกรมค้นหา จุดประสงค์ กิจกรรมที่
E-News For Modern Life งานบริการสารนิเทศ ฝ่ายบริการ ทรัพยากรสารนิเทศ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Assignements 4 ICT in KM (KM703) Knowledge Management Program
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
13 October 1. Information and Communication Technology Lab 8 Web Browser and Seach Engine โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย.
การสืบค้นทางคณิตศาสตร์
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
Search Engine จัดทำโดย น. ส. กรรณิดา เดิมบางปิด เลขที่ 1 น. ส. เกศินี ศรีอินทร์สุทธิ์ เลขที่ 4 น. ส. เบญจวรรณ แซ่อั๊ง เลขที่ 51 1.
วิธีการสืบค้นข้อมูล ด้วย Search engine และการเขียนบรรณานุกรม
การค้นคว้าข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูล.
ระบบ สารสนเทศ โดย.... นายวลงกรณ์ สำลี ทอง (B01) คณะวิทยาศาสตร์ เอก คณิตศาสตร์ ID SC 11.
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
อินเทอร์เน็ต.
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
EBook Collection EBSCOhost.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
การค้นหาสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต
E-Portfolio.
Wiley Online Library. Wiley Online Library Wiley Online Library เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ รวบรวมวารสารมากกว่า 800 รายชื่อ ครอบคลุมสาขาวิชาทางด้าน.
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ ปี การศึกษา
และเราจะเดินไปพร้อมกัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า

บริการอินเทอร์เน็ตสำหรับศึกษาค้นคว้า Digital Library Web Board E-journal Online Book Courseware Web Opac Search Facilities

ห้องสมุดดิจิทัล เป็นห้องสมุดที่เก็บสารสนเทศในรูปแบบของ ข้อมูล digital http://www.car.chula.ac.th/

กระดานสนทนา (Web Board) เป็นการแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นผ่านทาง internet

วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-journal) เป็นวารสารที่นำ บทความมาเผยแพร่ทาง internet http://www.bkknews.com/weekend/index.shtml

(http://www.ku.ac.th/e-magazine)

หนังสือออนไลน์ (Online Book) สามารถอ่านหนังสือและดาวน์โหลดหนังสือจากบริการ internet การอ่านจะต้องมี Software สำหรับอ่าน เช่น Acrobat Reader Glassbook Microsoft Reader

คอร์สแวร์ (Courseware) เป็นสื่อการสอนทางคอมพิวเตอร์ นำเสนอในลักษณะสื่อประสม ได้แก่ อักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว กราฟิก เสียง http://www.thaiwbi.com/ http://www.nectec.or.th/courseware/

(http://www.thaiwbi.com)

เว็บโอแพค (Web OPAC) บริการช่วยสืบค้นฐานข้อมูลวัสดุสารสนเทศผ่านเครือข่าย Internet http://www.library.msu.ac.th/webopac.html เว็บโอแพคของสำนักวิทยบริการ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน สืบค้นฐานข้อมูลของสำนักวิทยบริการ รายการวัสดุสารสนเทศสำรอง ส่วนอื่นๆ เช่น ข้อมูลการยืมคืน สืบค้นไปห้องสมุดอื่น

บริการค้นหาสารสนเทศ (Search) โดยจะมีโปรแกรม robot หรือ Spider ที่ทำงานอัตโนมัติเพื่อเข้าไปใน Internet เพื่อคัดลอกข้อมูลจาก Web site ต่างๆ มาจัดทำดัชนี (Index) และจัดโครงสร้างไว้ในฐานข้อมูล โปรแกรมนี้จะมีการทำงานเป็นระยะๆ เพื่อปรับปรุงข้อมูลใหม่ เพราะข้อมูลบน internet มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

ประเภทของการค้นหาสารสนเทศใน internet ค้นหาแบบไดเรกทอรี (Directories) ค้นหาโดยใช้เครื่องสืบค้น (Search Engine or keyword Index) ค้นหาแบบเมตะเสริชต์ (Metasearch)

การค้นหาแบบ Directories การรวบรวมข้อมูลได้แบ่งไว้เป็นหมวดหมู่ ค้นหาโดยการเลือกหมวดหมู่ย่อยไปเรื่อยๆ จนกว่าจะพบสิ่งที่ต้องการ ข้อดี : ใช้งานง่าย ข้อเสีย : ถ้าข้อมูลไม่อยู่ในหมวดหมู่จะสืบค้นไม่พบ

การค้นหาแบบ Directories http://www.yahoo.com/ http://www.sanook.com/

ค้นหาโดยใช้ Search Engine ค้นหาโดยใช้คำค้น หรือ Keyword ข้อดี : ได้ข้อมูลที่ละเอียดกว่าแบบ directories ข้อเสีย : อาจจะได้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความต้องการ http://www.google.com http://www.altavista.com http://www.thaiseek.com

(www.google.com)

ค้นหาแบบ MetaSearch เป็นตัวกลางในการไปสืบค้นจาก Search Engine ต่างๆ ข้อดี : สามารถใช้หลายๆ วิธี มาช่วยสืบค้นข้อมูล ข้อเสีย : อาจจะได้ผลลัพธ์ที่มากเกินความต้องการ http://www.thaifind.com/ http://www.profusion.com/ http://metasearch.com/

(www.dogpile.com)

ผู้ใช้บริการค้นหาข้อมูล http://www.google.com http:// www.altavista.com http:// www.excite.com http:// www.hotbot.com http:// www.looksmart.com http:// www.siamguru.com

การใช้บริการช่วยสืบค้น เทคนิคทั่วไป ก่อนที่จะทำการสืบค้นควรศึกษาคู่มือการใช้เพื่อทำให้สามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควรใช้บริการสืบค้นมากกว่าหนึ่งอย่าง ก่อนนำสารสนเทศที่ได้ไปใช้ ต้องนำสารสนเทศมาวิเคราะห์ประเมินคุณค่าก่อน

เทคนิคเฉพาะ การสืบค้นโดยใช้ภาษาธรรมชาติ การใช้ตรรกบูลีนในการสืบค้น เช่น and or not ใช้เครื่องหมายและสัญลักษณ์อื่นๆ เช่น “ ” คำเฉพาะ หรือจำกับการสืบค้นให้แคบลง * เพื่อขยายขอบเขตในการค้นหา มีแบบฟอร์มหรือเมนูให้เลือกวิธีสืบค้น การใช้อักษรตัวใหญ่ตัวเล็ก

การประเมินคุณค่าสารสนเทศใน internet ใช้กฏเกณฑ์ Cars Checklist ของ Robert Harris ความน่าเชื่อถือ (Cedibility) ความถูกต้อง (Accuracy) ความเป็นเหตุเป็นผล (Reasonableness) แหล่งสนับสนุน (Support)

ข้อควรระวัง ควรใช้งานเท่าที่จำเป็น ไม่รบกวนผู้อื่นในขณะใช้งาน ไม่ใช้ account ของผู้อื่นเข้าระบบ หมั่นตรวจสอบ E-mail อย่างสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการส่งแฟ้มข้อมูลขนาดใหญ่ ไม่เผยแพร่สื่อลามก ให้ความสำคัญในเรื่องลิขสิทธิ์