การท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต Tourism For life-Quality Development อ.วันทกาญจน์ สีมาโรฤทธิ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวอย่างที่ดีของโครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
Strategic Management ผศ.กันธิชา ทองพูล.
โครงสร้างสังคมไทย โครงสร้างสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนที่มีบรรทัดฐานของสังคมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้คนมาอยู่รวมกันเป็นสังคม อย่างสันติสุข.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
หลักการจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว รหัส อ. มัลทิกา ศิริพิศ
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
กับกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
กิจกรรมนันทนาการ.
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
บทบาทของชุมชนต่อโรงเรียน
การจัดการศึกษาในชุมชน
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
ธุรกิจที่พักและบริการอาหาร
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
ของฝากจากอาจารย์อ้อชุดที่28
จังหวัดภาคใต้ชายแดน 9.1 (ยะลา)
มุ่งการมองล่วงหน้า - ดักปัญหา การลดการใช้ขยะของชุมชน การเยี่ยมบ้านเด็กของครู-อสม. การส่งเสริมและป้องกันโรค การวิจัยความต้องการประชาชน การรับฟัง-ตอบปัญหาประชาชน.
แนวปฏิบัติในการขอทำประโยชน์ในเขตป่า
กลุ่มสัมมนาผู้ปฏิบัติงาน โครงการ “ ทำดี มีอาชีพ ” กลุ่มที่ ๖ โครงการ “ ทำดี มีอาชีพ ” กับการแก้ปัญหาด้าน ความมั่นคง.
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
Amphawa Sustainable City
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เรื่องเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ความก้าวหน้าการจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
การปลูกพืชผักสวนครัว
การเลือกซื้อสินค้า.
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
A.L.T.C. 12/1 เสฏฐนันท์ อังกูรภาสวิชญ์ L.T. ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต Tourism For life-Quality Development อ.วันทกาญจน์ สีมาโรฤทธิ์

การท่องเที่ยว = Tourism หมายถึง การเดินทาง (Travel) ที่มีเงื่อนไข 3 ประการ คือ 1. เป็นการเดินทางจากที่อยู่อาศัยปกติไปยังที่อื่นชั้วคราว 2. เดินทางด้วยความสมัครใจ 3. เป็นการเดินทางที่ไม่ใช่เพื่อการประกอบอาชีพ

องค์ประกอบหลักของการท่องเที่ยว 1. นักท่องเที่ยว 2 องค์ประกอบหลักของการท่องเที่ยว 1. นักท่องเที่ยว 2. ทรัพยากรการท่องเที่ยว 3. ธุรกิจในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว

องค์การสหประชาชาติให้ความหมาย ว่า นักท่องเที่ยว (Tourists) ได้แก่ ผู้เดินทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เพื่อประโยชน์ในการพักผ่อนหย่อนใจ การศึกษาหาความรู้ การบันเทิงหรือการอื่นใด นักทัศนาจร(Excursionitst) ได้แก่ ผู้เดินทางมาเยื่อนชั่วคราว และอยู่ในประเทศที่มาเยื่อนเป็นเวลาน้อยกว่า 24 ชม. และไม่มีการพักค้างคืน

สาเหตุที่ทำให้เกิดการท่องเที่ยว 1. ความเครียดจากงาน 2 สาเหตุที่ทำให้เกิดการท่องเที่ยว 1. ความเครียดจากงาน 2. เนื่องจากรายได้ของประชากรเพิ่มขึ้น 3. มีเวลาว่าง 4. ความสะดวกของการคมนาคม 5. การเพิ่มขึ้นของประชากร

รูปแบบการท่องเที่ยว มี 2 ประเภท 1 รูปแบบการท่องเที่ยว มี 2 ประเภท 1. การท่องเที่ยวแบบอิสระ (Independent Tourism) นักท่องเที่ยวกำหนดรายการท่องเที่ยวเอง ติดต่อที่พักเอง เลือกวิธีการเดินทางเอง ไม่ใช่บริการของบริษัททัวร์

รูปแบบการท่องเที่ยว มี 2 ประเภท 2 รูปแบบการท่องเที่ยว มี 2 ประเภท 2. การท่องเที่ยวมวลชน ( Mass Tourism) นักท่องเที่ยวใช้บริการของบริษัทนำเที่ยว ในการเลือกรายการท่องเที่ยว ที่พัก วิธีการเลือก หรือเรียกว่า การท่องเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ (Inclusive Tour)

Mass Tourism

จุดประสงค์ของการท่องเที่ยว 1 จุดประสงค์ของการท่องเที่ยว 1. การท่องเที่ยวเพื่อความสนุกสนานและความบันเทิง

2. การท่องเที่ยวเพื่อพักผ่อน 2. การท่องเที่ยวเพื่อพักผ่อน

2. การท่องเที่ยวเพื่อศึกษาวัฒนธรรม 2. การท่องเที่ยวเพื่อศึกษาวัฒนธรรม

4. การท่องเที่ยวเพื่อการศึกษา 4. การท่องเที่ยวเพื่อการศึกษา

5. การท่องเที่ยวเพื่อธุรกิจ 5. การท่องเที่ยวเพื่อธุรกิจ

6. การท่องเที่ยวเพื่อการประชุมสัมมนา 6. การท่องเที่ยวเพื่อการประชุมสัมมนา

7. การท่องเที่ยวเพื่อการศึกษา กลุ่มที่สนใจเฉพาะอย่าง เช่น วิจัย 7. การท่องเที่ยวเพื่อการศึกษา กลุ่มที่สนใจเฉพาะอย่าง เช่น วิจัย

8. การท่องเที่ยวเพื่องานอดิเรก เช่น เดินป่า ปีนเขา ส่องนก

9. การท่องเที่ยวเพื่อญาติมิตร เช่น พบเพื่อน สังสรรค์ 9. การท่องเที่ยวเพื่อญาติมิตร เช่น พบเพื่อน สังสรรค์

ปัจจัยที่สนับสนุนให้เกิดการท่องเที่ยว ได้แก่ นักท่องเที่ยว 1 ปัจจัยที่สนับสนุนให้เกิดการท่องเที่ยว ได้แก่ นักท่องเที่ยว 1. การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต เช่น เพิ่มประสบการณ์ รสนิยมในการท่องเที่ยว

2. รายได้เพิ่มมากขึ้น การศึกษาสูงขึ้น อาชีพดีขึ้น 2. รายได้เพิ่มมากขึ้น การศึกษาสูงขึ้น อาชีพดีขึ้น 3. การเติบโตทางเศรษกิจ

4. อัตราการแลกเปลี่ยนเงินตรา 5. สภาวะการเมือง 6 4. อัตราการแลกเปลี่ยนเงินตรา 5. สภาวะการเมือง 6. ฤดูกาล/การส่งเสริมจากภาครัฐ 7. ปัจจัยทางด้านวัฒนธรรม (วัฒนธรรมที่แตกต่าง)

8. การคมนาคม 9. ปัจจัยทางธรรมชาติ 8. การคมนาคม 9. ปัจจัยทางธรรมชาติ

ความสำคัญของการท่องเที่ยว 1 ความสำคัญของการท่องเที่ยว 1. ความสำคัญทางด้านเศรษกิจ - สร้างรายได้เงินตราต่างประเทศ - เกิดการกระจายรายได้ - เกิดการสร้างอาชีพและการจ้างงาน

ความสำคัญทางด้านสังคม - สร้างความเข้าใจระหว่างนักท่องเที่ยวและคนในชุมชน - เกิดการฟื้นฟูและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น - เกิดความพวงแหนและรักษาสิ่งแวดล้อม - ชุมชนเกิดการพัฒนา

3. ความสำคัญทางด้านการเมือง - สร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ - เพิ่มความสัมพันธ์ทางการฑูต - ลดความตึกเครียดทางด้านการเมืองระหว่างประทเศ

4. ความสำคัญด้านสิ่งแวดล้อม - เกิดความหวงแหน - เกิดการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม - เกิดการปรับปรุงสภาพ แวดล้อมให้ดีขึ้น

ผลกระทบที่เกิดจากการท่องเที่ยว 1. ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ ผลกระทบที่เกิดจากการท่องเที่ยว 1. ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ - ค่าครองชีพสูงขึ้น - เงินตราประเทศไหลออก 2. ผลกระทบทางด้านสังคม - ความอบอุ่นในครอบครัวลดลง - มีการกลืนกลายทางวัฒนธรรม - อาชญากรรม เพศพาณิชย์ ยาเสพย์ติด

3. ผลกระทบด้านการเมือง - เกิดการแฝงตัวของผู้ก่อการร้าย - เกิดอาชญากรข้ามชาติ - เกิดธุรกิจผิดกฏหมาย เช่น กลุ่มมาเฟีย

4. ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม - ปัญหามลภาวะ - การบุกรุกที่สาธาณะประโยชน์ - ปัญหาทัศนียภาพจากสิ่งปลูกสร้าง - ความเสื่อมโทรมของแหล่งท่องเที่ยว

The end