โดย โอฬาริก สุรินต๊ะ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
การใช้ E (Electronic) ในภาครัฐ
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
Information System and Technology
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
คำถาม กระทรวงใหม่ที่ดูแลทางด้าน IT ชื่อกระทรวงอะไร?
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ไม่ทราบหรอกว่าข้อมูลเกี่ยวกับตัวเขาได้ถูกเก็บรวบรวมโดยบริษัท เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับความถี่ของการซื้อ ประเภทของการซื้อ และวิธีจ่ายเงิน การทำเช่นนี้ก็เพื่อช่วยบริษัทในการผลิตและการตลาด.
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
สภาวะแวดล้อมของธุรกิจ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เรื่องเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน
เพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพ
ความหมาย ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
วันที่ มกราคม 2555 ณ ห้อง 107 วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ฐานข้อมูล Data Base.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
บทบาทของ สารสนเทศ จัดทำโดย น. ส อมรรัตน์ เม่งบุตร 002.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
Information Technology : IT
หน่วย ๑ ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
Evaluation of Thailand Master Plan
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
ICTs จะช่วยอำนวยความสะดวกในการพัฒนาประเทศใน 3 ลักษณะ
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยทำให้การบริการสะดวกขึ้น
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน ส่ง อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก จัดทำ โดย ด. ญ. ศิวัชญา ศรีทองวัน เลขที่ 8 ด. ช. ต่อศักดิ์ ถาน้อย เลขที่ 9.
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสามารถนำไปประยุกต์ในด้านต่างๆได้
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
โดย โอฬาริก สุรินต๊ะ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย โอฬาริก สุรินต๊ะ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Introduction to Information and Communication Technology โดย โอฬาริก สุรินต๊ะ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

สารสนเทศ (Information) ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล และเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ ทุกวันนี้มีข้อมูลอยู่รอบตัวเรามาก ข้อมูลเหล่านี้มาจากสื่อ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ อินเทอร์เน็ต หรือแม้แต่การสื่อสารระหว่างบุคคล จึงมีผู้กล่าวว่ายุคนี้เป็นยุคของสารสนเทศ MISA

สารสนเทศ คุณสมบัติ มีความถูกต้อง ความรวดเร็ว และเป็นปัจจุบัน มีความสมบูรณ์ของข้อมูล มีความชัดเจนกะทัดรัด มีความสอดคล้องกับความต้องการ MISA

เทคโนโลยี (Technology) เป็นการประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ การศึกษาพัฒนาองค์ความรู้ต่าง ๆ ก็เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติ กฎเกณฑ์ของสิ่งต่าง ๆ และหาทางนำมาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ เทคโนโลยีจึงเป็นคำที่มีความหมายกว้าง เทคโนโลยีจึงเป็นหัวใจของการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและผลิตภัณฑ์ต่างๆ MISA

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) เทคโนโลยีที่ใช้จัดการ สารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่การรวบรวม การจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล การพิมพ์ การสร้างรายงาน การสื่อสารข้อมูล ฯลฯ เทคโนโลยีสารสนเทศยังรวมถึงเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดระบบการให้บริการ การใช้ และการดูแลข้อมูล MISA

องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วยเทคโนโลยีที่สำคัญ 2 สาขาคือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ใช้สำหรับการจัดการระบบสารสนเทศ เพื่อให้ได้สารสนเทศตามที่ผู้ใช้ต้องการอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพไม่ว่าจะเป็นการคัดเลือก การจัดหา การวิเคราะห์เนื้อหา และการค้นคืนสารสนเทศ กระบวนการจัดทำสารสนเทศประกอบด้วย การนำข้อมูลเข้าการประมวลผลข้อมูล และการแสดงผลข้อมูล การนำข้อมูลเข้า การประมวลผลข้อมูล การแสดงผลข้อมูล MISA

องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีโทรคมนาคม ช่วยให้การสื่อสารหรือการเผยแพร่สารสนเทศไปยังผู้ใช้ในแหล่งต่าง ๆ เป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน ทันต่อเหตุการณ์ และควรที่จะสื่อสารได้ในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูล (Data) ที่เป็นตัวเลขหรือตัวอักษร (Text) ภาพ (Image) และเสียง (Voice) เทคโนโลยีโทรคมนาคมได้แก่ ระบบโทรทัศน์, โทรเลข, วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ รวมทั้งเทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ส่งสารสนเทศ ผู้รับสารสนเทศ MISA

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมีพัฒนาการที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว มีการปรับปรุงเครื่องมืออยู่ตลอดเวลา เช่น การใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) การประชุมทางไกล (Tele-Conference) การถอนเงินอัตโนมัติ (Automatics Teller Machine: ATM) ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ (Library Automation) MISA

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเกิดการใช้งานอย่างแพร่หลาย ทำให้สังคมมนุษย์จึงเปลี่ยนแปลงไปสู่ยุคของข้อมูลข่าวสาร (Information Age) หรือยุคดิจิตอล (Digital Age) เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็นโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม MISA

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลของแต่ละวัน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสารสนเทศ ช่วยในการเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่เรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก ช่วยในการจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อจัดเก็บ ประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศ ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวก รวดเร็ว MISA

เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อสังคม การสร้างเสริมคุณภาพชีวิต การสร้างความเสมอภาคในสังคม และการสร้างโอกาส การเรียนการสอนในสถานศึกษา การรักษาสิ่งแวดล้อม การป้องกันประเทศ การผลิตในอุตสาหกรรม และพาณิชยกรรม MISA

Digital Age (โลกยุคดิจิตอล) โลกยุคดิจิตอลเป็นยุคของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีผลกระทบโดยตรงกับเทคโนโลยีสารสนเทศ การเปลี่ยนแปลงของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทำให้ขีดความสามารถของคอมพิวเตอร์เปลี่ยนไปทำให้ ขนาดของอุปกรณ์เล็กลง ประสิทธิภาพสูงขึ้น เช่น E-Commerce, E-Education MISA

E-Commerce การส่งข้อมูล สินค้าและบริการ หรือ การชำระเงิน ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น สายโทรศัพท์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นต้น เทคโนโลยีที่ช่วยให้การทำธุรกรรม (Business Transaction) และการทำงานตามขั้นตอน (Workflow) ขององค์กรเป็นไปอย่างอัตโนมัติ MISA

E-Commerce กับประโยชน์ต่อผู้บริโภค เป็นแหล่งเลือกซื้อสินค้าและบริการนานาชนิดจากตลาดต่าง ๆ ทั่วโลก ให้ความสะดวกที่จะคัดเลือกสินค้าและเปรียบเทียบราคาสินค้า และประหยัดเวลาเนื่องจากไม่ต้องเดินทาง สามารถรับข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจหลากหลายแง่มุม เช่น รายละเอียดของสินค้า คุณภาพของสินค้า ข้อมูลผู้ผลิต รวมถึงยังสามารถให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับ สินค้านั้นๆได้โดยตรงอีกด้วย ได้รับความสะดวกในการจัดส่ง เพราะสินค้าส่วนใหญ่จัดส่งถึงบ้าน MISA

ประเภทของ E-Commerce Business to Consumer (B to C) เป็นการค้าระหว่างบริษัทกับผู้บริโภค หรือ แบบขายปลีก มีการสั่งซื้อสินค้าจำนวนไม่มากและมูลค่าการซื้อ-ขายแต่ละครั้งจำนวนไม่สูง การค้าแบบนี้มักชำระเงินด้วยบัตรเครดิต Business to Business (B to B) เป็นการค้าระหว่างบริษัทกับบริษัท มีการสั่งซื้อสินค้าและมีมูลค่าการซื้อ-ขายแต่ละครั้งจำนวนสูง การค้าแบบนี้มักชำระเงินผ่านธนาคาร ในรูปของ Letter of Credit (L/C) หรือ ในรูปของ Bill of Exchange อื่นๆ MISA

ประเภทของ E-Commerce Business to Government (B to G) เป็นการค้าระหว่างองค์กรเอกชนกับองค์กรของรัฐ การค้าลักษณะนี้จะมีกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องค่อนข้างมาก Consumer to Consumer (C to C) เป็นการค้าระหว่างบุคคลทั่วไป หรือ ระหว่างผู้ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตด้วยกันเอง ซึ่งการซื้อ-ขายนี้อาจทำผ่าน Web Site ที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นการเฉพาะ เช่น การซื้อ-ขายในรูปของการประมูลสินค้า ที่ผู้ใช้แต่ละคนเอามาฝากขายไว้บน Web Site MISA

E-Education E-Education (การศึกษาอิเล็กทรอนิกส์) คือ การส่งข้อมูลสื่อการศึกษา และการบริการ เช่น Course ware, ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ และ การชำระลงทะเบียนเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นต้น เทคโนโลยีที่ช่วยให้กระบวนการจัดระบบการศึกษา (Education System) เป็นการทำงานตามขั้นตอนเป็นไปอย่างอัตโนมัติจนเสร็จสิ้นบนระบบเครือข่าย เป็นเครื่องมือที่ช่วย สถาบันการศึกษา องค์การจัดการศึกษา ตลอดจนผู้ศึกษาหรือผู้เรียน ลดค่าใช้จ่าย จากการใช้บริการผ่านเครือข่าย ช่วยให้ข้อมูลและการบริการที่รวดเร็ว ทันสมัย MISA

E-Education กับการเปลี่ยนแปลงโลกการศึกษา ลดช่องว่างการแข่งขันระหว่างองค์กรหรือสถาบันการศึกษาทั่งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก ทำให้องค์กรสถาบันการศึกษาขนาดใหญ่ต้องปรับตัวทั้งในด้านการบริหาร การจัดการองค์กร รวมไปถึงวิธีการดำเนิน ก่อให้เกิดการแข่งขันทางธุรกิจการศึกษามากขึ้น สร้างช่องทางการขยายการศึกษามากขึ้น เกิดการทำงานภายใต้คอนเซปต์ มหาวิทยาลัย 24 ชั่วโมง ผู้เรียนสามารถทำกิจกรรมทางการศึกษาตลอดเวลา 24 ชั่วโมง สร้างรูปแบบของความร่วมมือทางการศึกษาหรือเครือข่ายการศึกษาที่หลากหลายขึ้น ทำให้เกิดแรงผลักดันในการจัดการศึกษารูปแบบแปลกใหม่มากขึ้น MISA

E-Education กับการเปลี่ยนแปลงโลกการศึกษา เกิดการทำงานภายใต้คอนเซปต์ มหาวิทยาลัย 24 ชั่วโมง ผู้เรียนสามารถทำกิจกรรมทางการศึกษาตลอดเวลา 24 ชั่วโมง สร้างรูปแบบของความร่วมมือทางการศึกษาหรือเครือข่ายการศึกษาที่หลากหลายขึ้น ทำให้เกิดแรงผลักดันในการจัดการศึกษารูปแบบแปลกใหม่มากขึ้น MISA

MISA

MISA

สังคมอิเล็กทรอนิกส์ (E-society) การส่งเสริมสังคมให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (k - Society) และเป็นการเรียนรู้ผ่านเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ สังคมอิเล็กทรอนิกส์ (e - Society) เป็นนโยบายที่จัดทำขึ้นมา เพื่อที่จะลดปัญหาช่องว่างทางดิจิตอล (Digital divide) ภายใต้โครงการขยายโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ ให้มีความทั่วถึงและเท่าเทียมกันทั่วประเทศ สำหรับโครงการที่ดำเนินการไปแล้วนั้น อาทิ “โครงการอินเตอร์เนตตำบล” เป็นต้น MISA

สังคมอิเล็กทรอนิกส์ (E-society) สังคมอิเล็กทรอนิกส์ (e - Society) เป็นส่วนหนึ่งของนโยบาย 5e ตามแผนแม่บททางเทคโนโลยีสารสนเทศของไทย พ.ศ.2545-2546 เพื่อกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศให้ก้าวหน้าด้วยเทคโนโลยี โดยใช้อิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือบริหารจัดการงานที่สำคัญ 5 ด้าน คือ 1. e - Government รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ 2. e - Citizen ประชาชนอิเล็กทรอนิกส์ 3. e - Society สังคมอิเล็กทรอนิกส์ 4. e - Education การศึกษาอิเล็กทรอนิกส์ 5. e - Industry อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ MISA

สังคมอิเล็กทรอนิกส์ (E-society) พัฒนาสังคมไทยให้เป็น “สังคมแห่งภูมิปัญญา” (Knowledge Base Society) หรือสังคมแห่งการเรียนรู้ ทำให้มีเหตุผล มีคุณธรรม และภูมิปัญญาที่ดีเกิดขึ้นในสังคมไทย พัฒนาโครงการ 1 ตำบล 1 ผลิตภัณฑ์ โดยใช้ความสามารถจากเครือข่ายสารสนเทศ อินเตอร์เนต พัฒนาโครงการอินเตอร์เนตตำบล ให้มีการขยายผล ให้มีข้อมูล และศูนย์บริการข่าวสาร ลงไปถึงระดับชุมชนและ หมู่บ้าน ดำเนินการควบคุม “เกมคอมพิวเตอร์” เพื่อให้เยาวชนมีการเล่นเกมที่เหมาะสมกับเวลา สนับสนุนให้มีการจัดระดับของ Web site เพื่อป้องกันเยาวชนจากข้อมูลที่ไม่เหมาะสม MISA

ความสอดคล้องระหว่าง (e - Society) กับ (e - Government) ในการนี้ประชาชนจะได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว ตลอดเวลา ทั่วถึงและเป็นธรรม เป็นการกระตุ้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของภาคเอกชนและประชาชน ซึ่งจะเป็นตัวขับเคลื่อนศักยภาพของประเทศเพื่อเป็นทางลัดในการเข้าสู่การแข่งขันให้เท่าทันกับนานาประเทศ MISA

ความสอดคล้องระหว่าง (e - Society) กับ (e - Government) ซึ่งหากรัฐบาลของประเทศใดขับเคลื่อนการพัฒนาระบบสารสนเทศได้ช้าก็ยิ่งเสียโอกาสในการแข่งขัน ไม่ว่าจะเป็นด้านการลงทุน การค้าขาย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่าง ๆ ก็เท่ากับทำให้ประชาชนของประเทศนั้นเสียโอกาสอีกทางหนึ่ง รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ หากสามารถทำให้เกิดผล ปฏิบัติเป็นรูปธรรมได้ ก็จะสามารถเอื้อให้ยุทธศาสตร์อื่น ๆ ขับเคลื่อนไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น MISA