Quantitative Analysis for Management (Tenth Edition) BARRY RENDER RALPH M. STAIR, JR. MICHAEL E. HANNA
Contents Chapter 1 ---- Chapter 2 ---- Chapter 3 ---- Introduction to Quantitative Analysis Chapter 2 ---- Probability Concepts and Applications Chapter 3 ---- Decision Analysis
Contents Chapter 4 ---- Chapter 5 ---- Chapter 6 ---- Regression Models Chapter 5 ---- Forecasting Chapter 6 ---- Inventory Control Models
Contents Chapter 7 ---- Chapter 8 ---- Linear Programming Models : Graphical and Computer Methods Chapter 8 ---- Linear Programming Modeling Applications with Computer Analysis in Excel and QM for Windows
Contents Chapter 9 ---- Chapter 10 ---- Linear Programming : The Simplex Method Chapter 10 ---- Transportation and Assignment Models
Contents Chapter 11 ---- Chapter 12 ---- Chapter 13 ---- Integer Programming , Goal Programming and Nonlinear Programming Chapter 12 ---- Network Models Chapter 13 ---- Project Management
Contents Chapter 14 ---- Waiting Lines and Queuing Theory Models Simulation Modeling Chapter 16 ---- Markov Analysis Chapter 17 ---- Statistical Quality Control
Chapter 6 Inventory Control Models
ประเภทของสินค้าคงคลัง สินค้าคงคลังที่อยู่ในรูปวัตถุดิบ สินค้าคงคลังที่อยู่ในรูปของสินค้าที่อยู่ระหว่างการผลิต สินค้าคงคลังที่อยู่ในรูปของสินค้าสำเร็จรูป สินค้าคงคลังที่อยู่ในระหว่างการกระจายสินค้า สินค้าคงคลังสำหรับการซ่อมบำรุง 10 10
เหตุผลของการมีสินค้าคงคลัง เพื่อให้เกิดการประหยัดต่อขนาดการสั่งซื้อ เพื่อป้องกันความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อเป็นปรับความต้องการที่เป็นฤดูกาล เพื่อการเก็งกำไร 11 11
ประเภทของต้นทุนสินค้าคงคลัง ต้นทุนในการสั่งซื้อ ต้นทุนในการสั่งผลิต ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง ต้นทุนที่เกิดจากของขาดแคลน 12 12
วัตถุประสงค์ของการบริหารสินค้าคงคลัง เพื่อตอบสนองและรักษาระดับการให้บริการแก่ลูกค้า (Satisfy Service Level) เพื่อควบคุมต้นทุนบริหารสินค้าคงคลังให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม (Inventory Cost) 13 13
แนวทางในการบริหารสินค้าคงคลัง กรณีข้อมูลความต้องการเป็นอิสระ (Independent Demand) กรณีข้อมูลความต้องการไม่เป็นอิสระ (Dependent Demand) 14 14
กรณีข้อมูลความต้องการไม่เป็นอิสระ การวางแผนความต้องการวัสดุ (MRP) 15 15
กรณีข้อมูลความต้องการเป็นอิสระ ความต้องการเป็นอิสระและค่อนข้างแน่นอนหรือคงที่ ความต้องการเป็นอิสระและไม่คงที่ ABC Analysis 16 16
ABC Analysis
การจัดลำดับความสำคัญของสินค้าคงคลัง การแบ่งประเภทสินค้าคงคลังด้วยระบบ ABC ( ABC Classification ) กลุ่มสินค้า มูลค่าในการใช้ / สั่งซื้อ ปริมาณสินค้าคงคลังทั้งหมด A 70 – 80 % แรกของมูลค่า 10 - 15 % B 10- 15 % ถัดมาของมูลค่า 30 – 40 % C 3 – 5 % สุดท้ายของมูลค่า 50 - 60 % 18 18
Percent of Inventory Values of Inventory Class C Class B Class A Values of Inventory 19 19
ขั้นตอนการจัดลำดับสำคัญ ( ABC Analysis ) จัดทำข้อมูลสินค้าคงคลังโดยมีรายละเอียดเป็นจำนวนที่สั่งซื้อต่อปีและราคาต่อหน่วยของสินค้าคงคลังแต่ละชนิด คำนวณหามูลค่าในการซื้อสินค้าคงคลังแต่ละชนิดที่หมุนเวียนในรอบปีนั้น จัดเรียงลำดับข้อมูลตามลำดับของมูลค่าในการซื้อสินค้าคงคลังจากมากไปหาน้อย 20 20
ขั้นตอนการจัดลำดับสำคัญ ( ABC Analysis ) หาค่าเปอร์เซ็นต์ของจำนวนหน่วยสะสมในแต่ละชนิดของสินค้าคงคลังจำนวนมูลค่าการซื้อสะสม นำเอาค่าเปอร์เซ็นต์มาเขียนกราฟ แล้วแบ่งชนิดของสินค้าคงคลังเป็นชนิด A และ B และ C ตามความเหมาะสม 21 21
จำนวนที่ใช้ต่อปี (ชิ้น) ลำดับ รายการ จำนวนที่ใช้ต่อปี (ชิ้น) ราคาต่อหน่วย (บาท) 1 DD 1,000 80 2 EE 800 154 3 FF 2,000 18 4 GG 350 40 5 HH 14 6 JJ 600 15 7 KK 0.5 8 LL 100 10.5 9 MM 50 13.75 10 NN 250 0.4 รวม 8,150
จำนวนที่ใช้ต่อปี (ชิ้น) ลำดับ รายการ จำนวนที่ใช้ต่อปี (ชิ้น) ราคาต่อหน่วย (บาท) มูลค่า (บาท) 1 DD 1,000 80 80,000 2 EE 800 154 123,200 3 FF 2,000 18 36,000 4 GG 350 40 14,000 5 HH 14 6 JJ 600 15 9,000 7 KK 0.5 8 LL 100 10.5 1,050 9 MM 50 13.75 687.5 10 NN 250 0.4 รวม 8,150 27,9038.5
การเรียงลำดับจากมูลค่าในการซื้อสินค้าคงคลังจากมากไปหาน้อย รายการ จำนวนที่ใช้ต่อปี (ชิ้น) ราคาต่อหน่วย (บาท) มูลค่า (บาท) 2 EE 800 154 123,200 1 DD 1,000 80 80,000 3 FF 2,000 18 36,000 4 GG 350 40 14,000 5 HH 14 6 JJ 600 15 9,000 7 KK 0.5 8 LL 100 10.5 1,050 9 MM 50 13.75 687.5 10 NN 250 0.4 รวม 8,150 27,9038.5 24 24
ผลการจัดกลุ่มสินค้าคงคลังแบบ ABC จำนวนที่ใช้ต่อปี (ชิ้น) ลำดับ รายการ จำนวนที่ใช้ต่อปี (ชิ้น) ราคาต่อหน่วย (บาท) มูลค่า (บาท) % ของรายการสินค้า % สะสม กลุ่ม 2 EE 800 154 123,200 44.15 A 1 DD 1,000 80 80,000 28.67 72.82 3 FF 2,000 18 36,000 12.90 85.72 B 4 GG 350 40 14,000 5.02 90.74 5 HH 14 95.76 6 JJ 600 15 9,000 3.23 98.98 C 7 KK 0.5 0.38 99.36 8 LL 100 10.5 1,050 0.36 99.72 9 MM 50 13.75 687.5 0.25 99.96 10 NN 250 0.4 0.04 100.00 รวม 8,150 27,9038.5 25 25
การแบ่งกลุ่มสินค้าคงคลัง