บทที่ 1 : บทนำ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รหัส หลักการตลาด.
Advertisements

โครงงานเรื่อง การบริหารสินค้าคงคลัง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
หน่วยเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1.ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource)
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
การสร้างแรงจูงใจในชีวิต ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
ดุลยภาพทั่วไป (General equilibrium)
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นในวิชาเศรษฐศาสตร์
MK201 Principles of Marketing
ผลิตสินค้าและบริการ.
ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics
การบริโภคอย่างอย่างสร้างสรรค์ รู้เท่าทัน และการใช้เวลาว่าง
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
สิ่งแวดล้อมรอบตัว.
โครงการวิจัยเรื่องความอยู่ดีมีสุขของประชากร ในประเทศกำลังพัฒนา
Logistics Logistics เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร การเคลื่อนย้ายและการเก็บวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต และสินค้าสำเร็จรูป รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากจุดกำเนิด.
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความหมายที่1 ความหมายที่2 ความหมายที่3
สถาบันการศึกษากับสถาบันอื่นๆในสังคม
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
การบำรุงรักษาทรัพยากรมนุษย์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง โปรแกรมคำนวณหาค่า tan
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ตัวอย่างการเขียน บทที่ 1 บทนำ.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ สัปดาห์ที่ 1
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ผู้สอน ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูพัทธนันท์
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หลักการเขียนโครงการ.
ผู้สอน ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
ครูศรีวรรณ ปานสง่า วิธีการทาง เศรษฐศาสตร์ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 : บทนำ

1.2 เศรษฐศาสตร์คืออะไร ขอบเขตเนื้อหาของวิชาเศรษฐศาสตร์ 1.2 เศรษฐศาสตร์คืออะไร ขอบเขตเนื้อหาของวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ (Economics) คืออะไร นิยามของวิชาเศรษฐศาสตร์ แยกตามจุดเน้นได้สองประเภท คือ 1. คำนิยามที่เน้นถึงสวัสดิการ 2. คำนิยามที่เน้นถึงความหามาได้ยากของทรัพยากร

คำนิยามที่เน้นถึงสวัสดิการ “ศึกษาถึงสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวกับการกินดีอยู่ดี” เอ็ดวิน แคนนัน (Edwin Cannan) “ศึกษาถึงสวัสดิการทางเศรษฐกิจ” อาร์เทอร์ ซี. พิกู (Arthur C. Pigou)

คำนิยามที่เน้นถึงสวัสดิการ “ศาสตร์ว่าด้วยการดำรงชีวิตตามปกติของมนุษย์ โดยศึกษาการกระทำของสังคมและปัจเจกชน เฉพาะส่วนที่มี ความสัมพันธ์อย่างแน่นแฟ้นกับความบรรลุความอยู่ดีกินดี และการใช้วัตถุปัจจัยเพื่อการอยู่ดีกินดีนั้น” อัลเฟรด มาร์แชล (Alfred Marshall)

คำนิยามที่เน้นถึงความหามาได้ยากทรัพยากร “ คือศาสตร์ที่ศึกษาถึงการเลือกหาหนทางที่จะใช้ปัจจัยการผลิต อันมีอยู่อย่างจำกัด เพื่อให้บรรลุความสำเร็จตามจุดประสงค์ อันมีอยู่มากมายนับไม่ถ้วน ” ไลออนเนล ซี. รอบบินส์ (Lionel C. Robbins)

ถ้านิยามให้ครอบคลุมจุดเน้นทั้งสองด้าน อาจนิยามได้ว่า ถ้านิยามให้ครอบคลุมจุดเน้นทั้งสองด้าน อาจนิยามได้ว่า เศรษฐศาสตร์ (Economics) หมายถึง วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ การตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด เพื่อให้การผลิตและและการแบ่งปัน สินค้าและบริการ สามารถตอบสนองความต้องการของมนุษย์และสังคม จนบรรลุสวัสดิการสูงสุด

ความหมายของคำสำคัญๆ ในนิยาม • สวัสดิการ • ความต้องการ • สินค้าและบริการ • ทรัพยากร

สวัสดิการ (Welfare) ในที่นี้หมายถึง สวัสดิการทางเศรษฐกิจ (Economic Welfare) คือ ความพึงพอใจหรือความอยู่ดีกินดีของมนุษย์และสังคม

ความต้องการ (Wants) ความปรารถนาที่จะได้มาซึ่งสิ่งที่จะสร้างหรือเพิ่มพูนสวัสดิการให้แก่ตน ความต้องการของมนุษย์โดยทั่วไปไม่มีขีดจำกัดหรือไม่มีสิ้นสุด

สินค้าและบริการ (Goods and Services) คือ สิ่งที่จะสร้างความสุข ความพอใจ หรืออรรถประโยชน์ (Utility) ให้แก่มนุษย์ได้ทั้งที่มีตัวตนและไม่มีตัวตน อาจเรียกสั้น ๆ ว่า “ทรัพย์”

สินค้าและบริการ (ทรัพย์) สินค้าและบริการ (ทรัพย์) ทรัพย์เสรี (Free Goods) เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีปริมาณไม่จำกัด ไม่มีราคา ได้แก่ อากาศ แสงแดด น้ำทะเล ฝน เศรษฐทรัพย์ (Economics Goods) - มนุษย์สร้าง (ผลิต) ขึ้น มีปริมาณจำกัด มีราคา ได้แก่ หนังสือ นาฬิกา เสื้อผ้า รถยนต์

ทรัพยากร (Resources) ในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง ทรัพยากรการผลิต (Production Resources) คือ สิ่งที่นำมาใช้ผลิตสินค้าหรือบริการประเภทเศรษฐทรัพย์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปัจจัยการผลิต (Fact Of Production)