บทที่ 9 การใส่รูปภาพ (Image).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1.กดปุ่ม Unzip (เลือกเป็น D:\)
Advertisements

การใช้งานบริการ เสริมของ. ก่อนอื่นควรสมัคร Gmail.com ก่อน Click ที่ Gmail.
ระบบเพิ่มแก้ไขข้อมูล หน่วยเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา.
การใส่ลูกเล่นให้กับงานนำเสนอ
ระบบจัดการคลังข้อสอบส่วนกลาง
เปลี่ยนสี และรูปแบบของตัวหนังสือ และจุดเชื่อมโยง
ขั้นตอนการลงทะเบียนสำหรับนักศึกษาปัจจุบัน
การใส่กรอบให้ข้อความ ใน Word ๒๐๑๐
HTML Language ภาษา HTML คืออะไร ? HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการพัฒนา web page เพื่อให้โปรแกรม web brower ต่างๆ (Internet Explorer,
Microsoft Word 2002 พุธทอง กาบบัวลอย.
วิธีการสร้างสารบัญภาพอัตโนมัติ
….E-Book สนุกสนาน…..
หลักการออกแบบเว็บ กำหนดกลุ่มเป้าหมาย จำแนกกลุ่มเนื้อหา
เตรียมเอกสารประกอบการนำเสนอ
ภาษา HTML เบื้องต้น เช่น Internet Explorer และ Netscape Navigator
การใช้งาน Microsoft PowerPoint
ปฏิบัติการที่ 3 : การสร้างโฮมเพจอย่างง่าย
By Mr.Piched Tanawattana ส่วนประกอบของ Excel แถบชื่อเรื่อง Title bar ปุ่มควบคุม Control Button เวิร์กชีต Worksheet แถบสถานะ Status bar แถบเมนู Menu.
จดหมายเวียน (Mail Merge)
การใส่รูปภาพลงในเว็บเพจ
การกำหนดขนาดของรูปภาพ การใช้รูปภาพเป็น Background
การใช้งาน Microsoft Excel
การติดตั้งโปรแกรมเพื่อจัดการร้านค้าออนไลน์
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
บทที่ 6 โครงสร้างของเว็บ.
ขั้นตอนที่ควรปฏิบัติ
การพิมพ์ข้อความ และการสร้างตาราง
การพัฒนาเว็บเบื้องต้นด้วย Macromedia Dreamweaver
ส่วนประกอบของโปรแกรม
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
การสร้างพื้นหลัง (Background)
โปรแกรม Microsoft Access
Patron Info Application
การสร้างสื่อนำเสนอด้วย PowerPoint
โปรแกรม DeskTopAuthor
วาดภาพสวยด้วย Paint.
การ Generate ตารางข้อมูลให้เป็นแผนที่โดยใช้ ArcView
บทที่ 4 การปรับแต่งสไลด์
การนำเสนอข้อมูล หน่วยที่ 1.
การใช้โปรแกรม Microsoft PowerPoint
การสร้างหน้าโฮมเพจด้วยโปรแกรม Macromedia Dreamweaver MX 2004
CHAPTER 6 Macromedia Dreamweaver MX 8.
การรับรองรายงานการประชุม ผ่านเว็บไซต์จังหวัดลพบุรี
การเรียนรู้ Internet Explorer 6.0
การใช้โปรแกรม ACDSee สร้าง Flash อย่างง่ายๆ
การแทรกรูปภาพ บนเว็บเพจ.
การนำเสนองานบนอินเตอร์เน็ต
การใช้สไตล์และเท็มเพลตสำเร็จรูป
การใช้โปรแกรม Captivate
การแต่งรูปภาพด้วยโปรแกรม
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
Microsoft Word MailMerge
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
วิธีการสร้าง KM ในระบบ iSchool.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ Microsoft Visual C#
การเพิ่มลูกเล่นให้กับเว็บเพจ
วิธีเปลี่ยนชื่อไฟล์ ให้เป็นตัวพิมพ์เล็ก ทั้งโฟลเดอร์ แบบอัตโนมัติ มิสรจนา อินกลับ งานเทคโนโลยี โรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา.
นางสาวขวัญชนก ขจรภพ รหัสนิสิต กลุ่ม B06 คณะพยาบาลศาสตร์
14/01/581 ผู้พัฒนา อะโดบีซิสเต็มส์ ( เริ่ม พัฒนาโดย แมโครมีเดีย ) รุ่นเสถียร ล่าสุด CS3 (9.0) รุ่นทดลอง ล่าสุด (27 มีนาคม พ. ศ. 2550) โอเอส Windows Mac.
เริ่มต้น Photoshop CS5.
เสริมเว็บให้ดูสวย.
การสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม CONTERT AUTHORING
ขั้นตอนการ สมัครเมลล์ * สิ่งที่ต้องจำ ห้าม ลืม 1.ID หรือชื่อผู้ใช้ 2. รหัสผ่าน 3. คำตอบที่ท่านตอบ คำถามที่เลือก.
การสร้างความเชื่อมโยง (Link)
( คลิกเมนู Insert  Image  เลือกไฟล์รูปภาพ.
โรงเรียนขัติยะวงษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 27
การสร้างข้อความลงแผ่นสไลด์
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 9 การใส่รูปภาพ (Image)

ประเภทของรูปภาพ การเขียนเว็บโดยใช้ภาษา HTML หรือโปรแกรมสำเร็จรูปอื่นๆ ที่มีแต่ไฟล์ Text ธรรมดาทำให้เว็บนั้นขาดความน่าสนใจ เพราะมีแต่ข้อความ ฉะนั้นถ้าต้องการให้เว็บสวยงามและน่าสนใจ ควรจะเป็นรูปภาพที่เป็นภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว สำหรับรูปภาพที่นำมาใส่ไว้ในเว็บนั้น จะมีนามสกุลไฟล์ที่นิยมอยู่ 3 นามสกุล คือ

ประเภทของรูปภาพ .JPG ย่อมาจาก The Joint Photographic Experts Group (JPEG) เป็นไฟล์ที่เหมาะสมสำหรับรูปถ่ายที่อาศัยหลายโทนสีหลายโทรสีและการไล่สีหลายระดับ ซึ่งไฟล์จะถูกจัดเก็บไว้ในโหมด RGB สามารถแสดงสีได้สูงสุด 16.7 ล้านสี นอกจากนี้ยังเป็นไฟล์สกุลที่สามารถสนับสนุนการทำงานด้วยโค้ดแบบ HTML และข้อดีอีกจุดคือ สามารถบีบอัดไฟล์ให้มีขนาดเล็กลงได้ โดยอาศัยการขจัดข้อมูลบางอย่างที่ไม่จำเป็นหรือสิ่งที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่าออกไป ซึ่งไฟล์ JPEG ที่บีบอัดแล้วเมื่อเปิดกลับขึ้นมาใหม่จะไม่เหมือนกับภาพต้นฉบับ 2. .GIF ย่อมาจาก Graphics Instruction Format เป็นไฟล์ที่นิยมใช้โหมดสี Indexed Color ซึ่งเป็นสีประเภทตัวอักษรหรือกราฟิกที่สร้างขึ้นเอง และใช้สีไม่มากนัก ซึ่งเป็นภาพที่นิยมนำมาใช้ในการสร้างเว็บเพจ เพราะขนาดไฟล์เล็กมาก การบันทึกไฟล์ในรูปแบบ GIF จะมีตัวเลือก (Option) ในการ Interface

ประเภทของรูปภาพ ทำให้ภาพที่ส่งทางอินเตอร์เน็ตมีรูปให้ดูก่อนแบบหยาบ แล้วค่อยๆ ละเอียดขึ้น ถึงแม้การโหลดรูปจะไม่ครบหรือสมบูรณ์แบบก็จะสามารถเดารูปได้ นอกจากนี้สำหรับการทำเว็บเพจ แบบมี Background ควรทำการจัดเก็บแบบ GIF89a Export ซึ่งเป็นการจัดเก็บไฟล์แบบโปร่งแสงหรือ Transparent area เหมาะสำหรับการนำไปเป็นเว็บเพจพื้นหลังไม่ใช่สีขาว แต่จะต้องปรับโหมดสีให้อยู่ในโหมด RGB ก่อน ซึ่งจะทำให้ขนาดไฟล์ใหญ่กว่าแบบ .GIF 3. .SWF ย่อมาจาก Shockwave Flash เป็นไฟล์ภาพเคลื่อนไหว โดยทำจากโปรแกรม Flash หรือ Swish

กิจกรรมที่ 9.1 ให้เปิดไฟล์ชื่อ star1.html แล้วสร้างตารางต่อไปนี้ R=3, C=3, W=60%, B=0, P=0, S=0 กำหนด Align = Center

การใส่รูปภาพที่มีนามสกุล .GIF และ .JPG 1. คลิกที่ตำแหน่งที่ต้องการวางรูป ในที่นี้ให้คลิกที่แถว 2 2. คลิกที่รูปที่เครื่องมือ Insert Image 3. เลือกแหล่งที่เก็บรูปภาพไว้ในช่อง Look in 4. คลิกชื่อไฟล์รูปภาพที่ต้องการ (จะสังเกตเห็นตัวอย่าง รูปในช่อง Image Preview พร้อมทั้งขนาด ของรูปและเวลาในการโหลดรูปภาพ)

การใส่รูปภาพที่มีนามสกุล .GIF และ .JPG 5. คลิกที่ปุ่ม OK 6. คลิก Yes 7. ดูที่ช่อง Save in ตรวจสอบ ให้แน่ใจว่าเป็นโฟลเดอร์ที่สร้างสำหรับ เก็บงานเว็บเพจ

การใส่รูปภาพที่มีนามสกุล .GIF และ .JPG 8. คลิกที่ปุ่ม Save 9. จะปรากฏกรอบ Image Tag ในที่นี้ ให้คลิก OK 10. ชื่อไฟล์รูปภาพจะปรากฏอยู่ในกรอบ Site ด้วย

การใส่รูปภาพที่มีนามสกุล .GIF และ .JPG ถ้าต้องการให้อยู่กึ่งกลาง ให้คลิกบริเวณด้านข้างของรูปเพื่อให้จุดที่รูปภาพหายไปแล้วคลิกที่ปุ่ม Center ของกรอบ Properties ในกรณีที่ตารางเปลี่ยนรูปแบบ ให้จัดให้ถูกต้อง

การใส่รูปภาพที่มีนามสกุล .GIF และ .JPG ดำเนินการให้ครบทั้ง 3 ช่อง พิมพ์ข้อความพร้อมจัดรูปแบบให้สวยงาม เสร็จแล้วทำการบันทึก อนึ่ง การใส่รูปภาพ ถ้าเป็นรูปที่นำมาใส่ไว้เว็บแล้ว ให้คลิกที่ Yes เมื่อมีกล่อง ข้อความถามว่าต้องการบันทึกชื่อซ้ำชื่อเดิมหรือไม่

การใส่รูปภาพที่มีนามสกุล .GIF และ .JPG หมายเหตุ 1. รูปภาพที่นำมาใช้ในเว็บ ห้ามใช้ใช้ชื่อไฟล์เป็นภาษาไทย และต้องไม่มีวงเล็บอยู่ท้าย ชื่อ เช่น nong [1] เป็นต้น เพราะการคัดลอกรูปภาพจากเว็บต่างๆ นั้น บางครั้งจะมีเครื่องหมายวงเล็บโดยอัตโนมัติ จึงควรเปลี่ยนชื่อไฟล์ใหม่ก่อนก่อนที่จะนำเว็บมาใช้เว็บ นอกจากนี้รูปภาพที่นำมาใช้ในเว็บไม่ควรมีขนาดเนื้อที่ของไฟล์ใหญ่เกินไป เพราะจะทำให้ใช้เวลานานในการโหลด 2. ถ้า Copy รูปภาพมาไว้ใน Folder ที่สร้างเว็บก่อน จะสะดวกในการนำรูปภาพมาใช้

กิจกรรมที่ 9.2 เปิดไฟล์ชื่อ star2.html แล้วสร้างตารางต่อไปนี้ R=4, C=2, W=60%, B=1, P=0, S=0 กำหนด Align = Center พิมพ์ข้อความแล้วใส่รูปภาพตามตัวอย่าง เสร็จแล้วใส่สีพื้นและเส้นตาราง การปรับขนาดรูปภาพ 1. คลิกรูปภาพที่ต้องการ 2. กำหนดขนาดตามที่ต้องการตรงกรอบ Properties เพื่อให้รูปภาพมีนาดเท่ากัน

การสร้างกรอบรูปภาพ 1. คลิกบริเวณรูปภาพที่ต้องการ 2. กำหนด Border ในกรอบ Properties ให้เท่ากับ 1 ขึ้นไป ในที่นี้ กำหนดเป็น 3 3. ปฏิบัติให้ครบทุกรูป

การสร้างคำอธิบายรูปภาพ 1. คลิกบริเวณรูปภาพที่ต้องการ 2. พิมพ์ข้อความที่ต้องการในช่อง Alt ของกรอบ Properties 3. กด F12 เพื่อ Preview แล้วนำเมาส์ ไปวางไว้ที่รูป จะปรากฏข้อความที่กำหนด เสร็จแล้วกำหนด Title หน้าเว็บนี้เป็นดาราหญิง

กิจกรรมที่ 9.3 เปิดไฟล์ชื่อ index.html แล้วสร้างตารางต่อจากตารางแรก ให้เว้นระยะห่างประมาณ 2 บรรทัด โดยกำหนดดังนี้ R=4, C=2, W=40%, B=1, P=0, S=0 กำหนด Align = Center แล้วทำการบันทึกพร้อมทั้งนำรูปภาพมาใส่ไว้ตามตัวอย่าง

กิจกรรมที่ 9.3 เมื่อครบถ้วนแล้ว จะสังเกตว่าส่วน Panel ด้านขวามือ จะปรากฏชื่อไฟล์ทั้งหมด

การใส่รูปภาพที่มีนามสกุล .SWF 1. คลิกตำแหน่งที่ต้องการวางรูป 2. คลิกที่รูปเครื่องมือ Insert Flash 3. คลิกที่แหล่งที่เก็บรูปภาพ Look in 4. คลิกชื่อไฟล์รูปภาพที่ต้องการ 5. คลิกที่ปุ่ม Select 6. คลิก Yes

การใส่รูปภาพที่มีนามสกุล .SWF 7. ดูที่ช่อง Save in ตรวจสอบให้แน่ใจว่าเป็นโฟลเดอร์ที่สร้างขึ้นสำหรับเก็บงานเว็บเพจ 8. คลิกที่ปุ่ม Save 9. จะปรากฏรูปดังรูป 10. กด F12 เพื่อดูใน Browser จึงจะแสดงภาพที่แท้จริง

The End