แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 นำเสนอ วันพุธที่ 13 พฤษภาคม 2552 ณ ห้องประชุมศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
ค่านิยมองค์กร ค่านิยมร่วมเป็นกรอบชี้นำการดำเนินงาน การประสานงาน และการปฏิบัติงานร่วมกันซึ่งบุคลากรทุกฝ่ายพึงรับทราบ และยึดถือหลักร่วมกัน โดยเน้นการมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมรับผิดชอบ ทั้งนี้ให้บุคลากรภายในสถาบันมีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ที่ยั่งยืนทุกระดับ ปรัชญา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นมุ่งความเป็นเลิศทางวิชาการ บนพื้นฐานแห่งคุณธรรม ร่วมชี้นำการพัฒนาท้องถิ่นและสังคม
วิสัยทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครเป็นสถาบันอุดมศึกษาของท้องถิ่นที่เป็นศูนย์กลางทางวิชาการและเครือข่ายการเรียนรู้ คู่คุณธรรม เพื่อพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง พันธกิจ 1. ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและคุณธรรม 2. พัฒนาองค์ความรู้ และถ่ายทอดสู่การพัฒนาท้องถิ่น 3. ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. พัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ 5. บริหารจัดการให้มีคุณภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ 1. พัฒนาระบบการจัดการศึกษา 2. ให้โอกาสทางการศึกษาแก่คนในท้องถิ่น 3. วิจัยและบริการบนพื้นฐานความต้องการของท้องถิ่น 4. อนุรักษ์ ส่งเสริม สืบทอดศิลปวัฒนธรรม 5. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6. สร้างเสริมเครือข่ายการเรียนรู้ 7. บริหารจัดการที่ดี เป้าประสงค์ 1. ประชาชนได้รับการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 2. เพิ่มองค์ความรู้และสมรรถภาพการให้บริการวิชาการแก่ท้องถิ่น ตามแนวเศรษฐกิจ พอเพียง 3. เป็นศูนย์กลางความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม 4. ท้องถิ่นมีการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม 5. เกิดเครือข่ายการเรียนรู้ในระดับท้องถิ่นและประเทศ 6. การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบการจัดการศึกษา เป้าประสงค์ : ประชาชนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง กลยุทธ์ การสร้างเสริมระบบประกันคุณภาพและการจัดการศึกษาที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 2. ส่งเสริมการผลิตบัณฑิตทางด้านวิทยาศาสตร์ในสัดส่วนสูงขึ้น 3. พัฒนาหลักสูตรตามความต้องการของท้องถิ่น 4. ส่งเสริมงานพัฒนานักศึกษา 5. ส่งเสริมการพัฒนาวิชาชีพครูในกลุ่มสนุกให้มีความเข้มแข็ง 6. สร้างเสริมความพร้อมทางด้านทรัพยากรสำหรับการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ให้โอกาสทางการศึกษาแก่คนในท้องถิ่น เป้าประสงค์ : ประชาชนได้รับการศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง กลยุทธ์ 1. เพิ่มโอกาสในการพัฒนาความรู้ หลังการศึกษาระดับปริญญาตรี 2. เปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 วิจัยและบริการบนพื้นฐานความต้องการของท้องถิ่น เป้าประสงค์ : เพิ่มองค์ความรู้และสมรรถภาพการให้บริการวิชาการแก่ท้องถิ่น ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ 1. พัฒนาศักยภาพบุคลกรในการทำวิจัย งานสร้างสรรค์และการให้บริการวิชาการ 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการทำวิจัยงานสร้างสรรค์และการให้บริการวิชาการ 3. ส่งเสริมและสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานในระดับชาติ 4. สร้างฐานข้อมูลท้องถิ่น เพื่อเป็นศูนย์กลางทางวิชาการของท้องถิ่น
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 อนุรักษ์ ส่งเสริม สืบทอดศิลปวัฒนธรรม เป้าประสงค์ : เป็นศูนย์กลางความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม กลยุทธ์ 1. ฟื้นฟูพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ทางศิลปวัฒนธรรม 2. ส่งเสริมการบูรณาการองค์ความรู้ทางศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนและการบริการทางวิชาการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ : ท้องถิ่นมีการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ที่เหมาะสม กลยุทธ์ 1. สนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ ด้านการจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 สร้างเสริมเครือข่ายการเรียนรู้ เป้าประสงค์ : เกิดเครือข่ายการเรียนรู้ในระดับท้องถิ่นและประเทศ กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ให้เกิดความเข้มแข็ง สนับสนุนการทำงานในลักษณะเครือข่ายทางวิชาการกับส่วนราชการ เอกชนและองค์กรท้องถิ่น ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 บริหารจัดการที่ดี เป้าประสงค์ : การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล กลยุทธ์ 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล 2. พัฒนาระบบการบริหารจัดการความรู้ 3. ส่งเสริมและพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ บริหารจัดการ 4. สนับสนุนการประชาสัมพันธ์เชิงรุก
แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map) มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ตัวชี้วัดระดับคณะ สำนัก สถาบัน กอง ภาพรวมแผนผังเชิงยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครเป็นสถาบันอุดมศึกษาของท้องถิ่น ที่เป็นศูนย์กลางทางวิชาการ และเครือข่ายการเรียนรู้คู่คุณธรรม เพื่อพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง วิสัยทัศน์ พัฒนาระบบการจัดการศึกษา ให้โอกาสทางการศึกษาแก่คนในท้องถิ่น วิจัยและบริการบนพื้นฐานความต้องการของท้องถิ่น อนุรักษ์ ส่งเสริม สืบทอดศิลปวัฒนธรรม ประเด็น ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สร้างเสริมเครือข่ายการเรียนรู้ บริหารจัดการที่ดี 1. ประชาชนได้รับการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 2. เพิ่มองค์ความรู้และสมรรถภาพการให้บริการวิชาการแก่ท้องถิ่น ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง 3. เป็นศูนย์กลางความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม 4. ท้องถิ่นมีการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม 5. เกิดเครือข่ายการเรียนรู้ในระดับท้องถิ่นและประเทศ 6. การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เป้าประสงค์ หลัก Strategy Map Corporate Scorecard แผนปฏิบัติการ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย แผนงาน/โครงการ งบประมาณ ประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดระดับคณะ สำนัก สถาบัน กอง ตัวชี้วัดระดับบุคคล
แผนภาพที่ 1 Strategy Map มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครเป็นสถาบันอุดมศึกษาของท้องถิ่น ที่เป็นศูนย์กลางทางวิชาการ และเครือข่ายการเรียนรู้ คู่คุณธรรม เพื่อพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ และคุณธรรม วิจัยเพื่อเพิ่มศักยภาพ แหล่งเรียนรู้ อนุรักษ์ศิลปะ วัฒนธรรม การให้บริการอย่างเหมาะสม และทั่วถึง การบริหาร จัดการที่ดี ประสิทธิผล -ความพึงพอใจต่อ บัณฑิตของผู้ใช้บัณฑิต -ความพอใจของนักศึกษา งานวิจัย/เผยแพร่ นำไปใช้ประโยชน์ ผลงานด้าน ศิลปวัฒนธรรม บริการวิชาการที่สนอง ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น ประเทศ -การประกัน คุณภาพการศึกษา -การบริหารตาม หลักธรรมาภิบาล คุณภาพ สร้างเสริมเครือข่าย ความร่วมมือ -พัฒนาการรับ นักศึกษา -พัฒนาหลักสูตร -การจัดการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา พัฒนานักวิจัย -ความพร้อม ทรัพยากรวิจัย อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา และเผยแพร่ภูมิ ปัญญา และศิลปวัฒนธรรม -การส่งเสริมสืบสาน โครงการตามแนว พระราชดำริ -ถ่ายทอดองค์ความรู้ สู่ชุมชน/ท้องถิ่น -ท้องถิ่นมีการจัดการ และอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม -จัดทำต้นทุนผลผลิต -รักษามาตรฐาน ระยะเวลาการให้บริการ -ประสิทธิภาพการใช้ พลังงาน -การบริหารงบประมาณ ประสิทธิภาพ ภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนการสอนและการปฏิบัติงาน -การบริหาร งบประมาณ -การจัดการ ความเสี่ยง พัฒนาองค์กร - พัฒนา บุคลากร - การจัดการ ความรู้ การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู มีฐานข้อมูลระบบสารสนเทศที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ -การพัฒนาสู่ สากล -การสร้าง เสริมธรรมา ภิบาล
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร การถ่ายทอดตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ลงสู่หน่วยงานระดับคณะ สำนัก สถาบัน กอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์และตัวชี้วัดมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 1. พัฒนา ระบบ การ จัดการ ศึกษา 1. ประชาชน ได้รับการ ศึกษาและ เรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง 1.1.1 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบ อาชีพอิสระภายในระยะเวลา 1 ปี (ก.พ.ร. 4.1.1 ) 1.1.2 ร้อยละของบัณฑิตระดับ ปริญญาตรีที่ได้งานทำตรงสาขาที่ สำเร็จการศึกษา(ก.พ.ร. 4.1.2 ) 1.1.3 ร้อยละของบทความวิทยานิพนธ์ปริญญาโทหรือเอกที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ทั้งในระดับ-ชาติหรือระดับนานาชาติ ต่อจำนวน วิทยานิพนธ์ปริญญาโทหรือเอก(ก.พ.ร. 4.1.4 ) 1.1.4 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาสถาบันสู่ระดับสากล(ก.พ.ร. 5) 1.1.5 ร้อยละของระดับความพึงพอใจต่อบัณฑิตของผู้ใช้บัณฑิต (ก.พ.ร. 6.1 ) 1.1.6 ร้อยละของระดับความพึงพอใจต่อสถาบันอุดมศึกษาของนิสิต นักศึกษา(ก.พ.ร. 6.2 ) 1.1.7 ระดับความสำเร็จของการประกันคุณภาพภายในที่ก่อให้เกิด การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง (ก.พ.ร. 7.1 )
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์และตัวชี้วัดมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 1. พัฒนา ระบบการ จัดการ ศึกษา(ต่อ) 1. ประชาชน ได้รับการ ศึกษาและ เรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง (ต่อ) 1.1.8 ระดับคุณภาพของสถาบันจากผลการประเมินของ สมศ. (ก.พ.ร. 7.2 ) 1.1.9 ระดับความสำเร็จของการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ คณาจารย์ของสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.ร.16) 1.1.10 ประสิทธิภาพของการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (ก.พ.ร.17)(สกอ.2.2)(สมศ.6.6) 1.1.11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า(ก.พ.ร.18) 1.1.12 จำนวนนักศึกษาที่เข้าใหม่ ด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (สงป.) 1.1.13 จำนวนนักศึกษาที่คงอยู่ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สงป.) 1.1.14 จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1.1.15 จำนวนนักศึกษาที่เข้าใหม่ ด้านสังคมศาสตร์ (สงป.)
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์และตัวชี้วัดมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 1. พัฒนา ระบบการ จัดการ ศึกษา(ต่อ) 1. ประชาชน ได้รับการ ศึกษาและ เรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง(ต่อ) 1.1.16 จำนวนนักศึกษาที่คงอยู่ ด้านสังคมศาสตร์ (สงป.) 1.1.17 จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา ด้านสังคมศาสตร์ (สงป.) 1.1.18 จำนวนหลักสูตรที่ได้รับการพัฒนา 1.1.19 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ ประจำ(สกอ.2.4)(สมศ.6.2) 1.1.20 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญา เอกหรือเทียบเท่า 1.1.21 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีตำแหน่งทางวิชาการ 2.ให้โอกาส ทางการ ศึกษาแก่ คนใน ท้องถิ่น ต่อเนื่อง 2.1.1 ร้อยละของนักศึกษาใหม่ของมหาวิทยาลัยที่เพิ่มขึ้น 2.1.2 ระดับความสำเร็จการพัฒนาครู“กลุ่มสนุก” เพื่อการปฏิรูป การเรียนรู้ (ก.พ.ร. 3.1)
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์และตัวชี้วัดมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 3. วิจัยและ บริการบน พื้นฐาน ความต้อง การของ ท้องถิ่น 2. เพิ่มองค์ความรู้ และสมรรถภาพ การให้บริการ วิชาการแก่ ท้องถิ่นตามแนว เศรษฐกิจพอเพียง 3.2.1 ร้อยละของงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ต่ออาจารย์ประจำและ/หรือนักวิจัยประจำ (ก.พ.ร. 4.2.1) 3.2.2 ร้อยละของงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ที่นำมาใช้อันก่อให้ เกิดประโยชน์อย่างชัดเจน ต่ออาจารย์ประจำและ/หรือนักวิจัยประจำ (ก.พ.ร. 4.2.2) 3.2.3 ร้อยละของผลงานวิชาการที่ได้รับการจดลิขสิทธิ์และ/หรือได้รับรองคุณภาพจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ต่ออาจารย์ประจำและ/หรือนักวิจัยประจำ (ก.พ.ร. 4.2.3) 3.2.4 ระดับความสำเร็จของแผนการบริการวิชาการและวิชาชีพให้เกิดความเข้มแข็งในระดับท้องถิ่นและประเทศ(ก.พ.ร. 3.3)
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์และตัวชี้วัดมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 3. วิจัยและ บริการบน พื้นฐาน ความต้อง การของ ท้องถิ่น (ต่อ) 2. เพิ่มองค์ความรู้ และสมรรถภาพ การให้บริการ วิชาการแก่ ท้องถิ่นตามแนว เศรษฐกิจพอเพียง 3.2.5 ร้อยละของอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ ที่ได้รับทุนทำวิจัย หรืองานสร้างสรรค์จากภายใน และภายนอกสถาบันต่ออาจารย์ประจำและนักวิจัย ประจำ 3.2.6จำนวนงานเผยแพร่ความรู้บริการวิชาการ(สงป.) 3.2.7 จำนวนโครงการวิจัยใหม่เพื่อสร้างองค์ความรู้ (สงป. ) 3.2.8 ร้อยละโครงการวิจัยที่แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด (สงป. ) 3.2.9 จำนวนโครงการวิจัยใหม่เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี (สงป. ) 3.2.10 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่เป็นที่ปรึกษา เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน เป็นกรรมการวิชาการและกรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์และตัวชี้วัดมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 3. วิจัยและ บริการบน พื้นฐาน ความต้อง การของ ท้องถิ่น (ต่อ) 2. เพิ่มองค์ความรู้ และสมรรถภาพ การให้บริการ วิชาการแก่ ท้องถิ่นตามแนว เศรษฐกิจพอเพียง 3.2.11 ร้อยละงานบริการวิชาการแล้วเสร็จตาม ระยะเวลาที่กำหนด (สงป. ) 3.2.12 ร้อยละของโครงการหรือกิจกรรมบริการ วิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการ พัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ หรือนานาชาติต่ออาจารย์ ประจำ และนักวิจัยประจำ 3.2.13 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่เข้าร่วมประชุม วิชาการหรือนำเสนอ ผลงานวิชาการทั้งในและ ต่างประเทศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์และตัวชี้วัดมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 4. อนุรักษ์ ส่งเสริม สืบทอด ศิลปะวัฒน ธรรม 3. เป็นศูนย์กลาง ความรู้ด้าน ศิลปวัฒนธรรม 4.3.1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนารูปแบบปราสาทผึ้ง (ก.พ.ร. 3.2 ) 4.3.2 จำนวนโครงการศิลปวัฒนธรรม (สงป.) 4.3.3 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการศิลปวัฒนธรรม (สงป.) 4.3.4 ร้อยละของโครงการหรือ กิจกรรมในการ อนุรักษ์ พัฒนาและสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะและ วัฒนธรรมต่อจำนวนโครงหรือกิจกรรมนักศึกษา ทั้งหมด 4.3.5 ร้อยละเฉลี่ยของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการใน การอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรม 4.3.6 ร้อยละของค่าใช้จ่ายและมูลค่าที่ใช้ในการ วัฒนธรรมต่องบดำเนินการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์และตัวชี้วัดมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 5. ส่งเสริม และพัฒนา กระบวนการ จัดการและ การอนุรักษ์ ทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 4. ท้องถิ่นมีการ จัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมที่ เหมาะสม 5.4.1 ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมและสืบสาน โครงการตามแนวพระราชดำริ (ก.พ.ร. 3.4 ) 6. สร้างเสริม เครือข่าย การเรียนรู้ 5. เกิดเครือข่ายการ เรียนรู้ในระดับ ท้องถิ่นและ ประเทศ 6.5.1 จำนวนแหล่งให้บริการวิชาการและวิชาชีพได้รับการยอมรับในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ 6.5.2 จำนวนเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ 7. บริหารจัดการที่ดี 6. การบริหาร จัดการตาม หลักธรรมาภิบาล 7.6.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตาม มาตรการประหยัดพลังงานของสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.ร. 8 ) 7.6.2 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ รายจ่ายลงทุน (ก.พ.ร. 9)
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์และตัวชี้วัดมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 7. บริหารจัดการ ที่ดี 6. การบริหาร จัดการตาม หลักธรรมาภิบาล(ต่อ) 7.6.3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ (ก.พ.ร. 10) 7.6.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต (ก.พ.ร. 11) 7.6.5 ระดับคุณภาพของการกำกับดูแลสถาบันอุดมศึกษา ตามหน้าที่และบทบาทของสภามหาวิทยาลัย (ก.พ.ร. 12.1) 7.6.6 ระดับคุณภาพของการถ่ายทอดเป้าหมายของสภามหาวิทยาลัยสู่การปฏิบัติ (ก.พ.ร. 12.2) 7.6.7 ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาส ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ (ก.พ.ร.13)
ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์และตัวชี้วัดมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 7. บริหารจัดการ ที่ดี 6. การบริหารจัดการ ตามหลักธรรมา ภิบาล(ต่อ) 7.6.8 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบฐานข้อมูลอุดมศึกษา ด้านนักศึกษา บุคลากร หลักสูตร และการเงินอุดมศึกษา และระบบฐานข้อมูลภาวะการมีงานทำของบัณฑิต(ก.พ.ร.14) 7.6.9 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวบ่งชี้และเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล (สกอ. 7.9) 7.6.10 ระดับความสำเร็จของแผนพัฒนาบุคลากรและการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาบุคลากรของ สถาบันอุดมศึกษา(ก.พ.ร.15) 7.6.11 ระดับความสำเร็จการใช้ทรัพยากรภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยร่วมกัน 7.6.12 มีการนำระบบบริหารความเสี่ยงมาใช้ใน กระบวนการบริหารการศึกษา