จัดทำโดย นายพงศธร มีสรรพวงศ์ เลขที 8 ชั้น ม.4/5 หัวข้อที่ 5 เรื่อง สิ่งมหัศจรรย์ที่เกี่ยวข้องกับตัวเลข สัญลักษณ์ ทางคณิตศาสตร์ จัดทำโดย นายพงศธร มีสรรพวงศ์ เลขที 8 ชั้น ม.4/5
สิ่งมหัศจรรย์ที่เกี่ยวข้องกับตัวเลข สัญลักษณ์ ทางคณิตศาสตร์
ระบบเลขคณิตศาสตร์ ระบบเลข เป็นสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ที่แสดงถึงจำนวนต่าง ๆ ระบบเลขแต่ละ ระบบมีจำนวนตัวเลขที่ใช้เหมือนกับชื่อของระบบตัวเลขนั้น และมีฐานของจำนวน เลขตามชื่อของมัน เช่นเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบ เลขฐานสิบหก ระบบเลขฐานสอง เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยตัวเลข 2 ตัว คือ 0 และ 1 ซึ่งเลข 0 กับ 1 เป็นเลขที่นิยมใช้กับคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลการทำงาน การเก็บข้อมูล หรือโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับสถานะทางไฟฟ้า ระบบเลขฐานแปด เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 8 ตัวคือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, รวมแปดตัว ระบบเลขฐานสิบ เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 10 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, ซึ่งเลขฐาน 10 เป็นเลขฐานที่มนุษย์ทั่วไปสามารถเข้าใจได้ง่ายมากที่สุด เพราะว่าเป็นตัวเลขที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ระบบเลขฐานสิบหก เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 10 ตัวและตัวอักษร 6 ตัว คือ ตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, และตัวอักษรคือ A แทน 10, B แทน 11, C แทน 12, D แทน 13, E แทน 14, F แทน 15 ซึ่งรวมกันแล้วได้ 16 ตัว
ความมหัศจรรย์ของตัวเลข มหัศจรรย์แห่งเลข 9 เลขเก้านั้นเมื่อนำไปคุณกับเลขอะไรก็ตาม ผลลัพธ์ที่ออกมาจะเป็น 9 ทุกครั้ง ๙x๘ = ๗๒ ถ้าเราบวก ก็เอา ๗ มาบวกกับ ๒ ก็จะได้ ๙x๗๕๖ = ๖,๘๐๔ ผลลัพธ์ ๖,๘๐๔ เราก็เอาแต่ละตัวมาบวกกัน จะได้ ๖+๘+๐+๔ = ๑๘ จากนั้นเอา ๑+๘ จะได้ผลลัพธ์ เท่ากับ ๙ ไม่ว่าจะเลขอะไรก็ตาม ถ้าคูณด้วย ๙ หรือ ๙๙ หรือ ๙๙๙๙๙ สุดท้ายผลลัพธ์จะเป็น ๙ เสมอ เลข ๙ นั้น เมื่อนำไปบวกกับเลขอะไรก็ตาม ผลลัพธ์ที่ออกมาจะเป็นเลขตัวเดิมที่เอามาบวกทุกครั้ง ๙+๕ = ๑๔ ผลลัพธ์ ๑๔ เราก็แยกเป็น ๑+๔ = ๕ จะเห็นว่าได้เป็นเลข ๕ เหมือนเดิม ๙+๑,๗๕๘ ก่อนอื่นเราต้องรวม ๑+๗+๕+๘ ก่อนว่าเท่ากับเท่าไหร่ ๑+๗+๕+๘ = ๒๑ เอา ๒๑ มาแยก ๒+๑ = ๓ ทีนี้ก็บวก ๙ กับ ๑,๗๕๘ เลย ๙+๑,๗๕๘= ๑,๗๖๘ เอา ๑,๗๖๘ มาแยก ๑+๗+๖+๘= ๒๑ และ ๒+๑ =๓ เช่นกัน เหตุผลสุดท้ายที่น่าทึ่งเกี่ยวกับเลข ๙ คือเป็นเลขของสุริยจักรวาลของเรามีดาวเคราะห์ทั้งหมด ๙ ดวง พอดี ...อันนี้บอกไม่ถูกเหมือนกันว่าเป็นความบังเอิญหรือมีใครบางคนที่อยู่นอกจักรวาลของเราจงใจ.....
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์: Maths symbols n : m อัตราส่วน α มุมที่ไม่ทราบว่า แอลฟา เช่น 5 : 2 ∑ ผลรวม ∝ เป็นสัดส่วนกับ {n} เซต n° องศา เช่น A = {2,5,8,9} เช่น ขนาดของมุมรูปจุดศูนย์กลาง ของวงกลม เท่ากับ 360° ∈ เป็นสมาชิกของ เช่น 3 ∈ {1,2,3,4} ค่าพาย ∉ ไม่เป็นสมาชิกของ มีค่าประมาณ 3.141592654... เช่น 4 ∉ {5,6,8} ∠ มุม U เอกภพสัมพัทธ์ เช่น มุมฉากมีขนาด 90º { } หรือ Φ เซตว่าง ∟ มุมฉาก υ ยูเนียน หรือถ้วย θ มุมที่ไม่ทราบค่า ทีตา