วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

หัวข้อรายงาน และอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่ม
การเขียนรายงานทางวิชาการ รศ. ดร
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
รายงานการวิจัย.
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
Thesis รุ่น 1.
โครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร์
“งานกลุ่มค้นคว้าหาความรู้”
รหัสวิชา ระเบียบวิธีการวิจัย (Research Methodology)
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
Seminar in computer Science
บทที่ 6 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเขียนรายงานการทดลอง
Management Information Systems
การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ชุดวิชา QM604 วิธีการวิจัยและพัฒนาคุณภาพ RESEARCH AND DEVELOPMENT IN QUALITY ผศ.ดร.กฤษดา กรุดทอง.
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
การเขียนรายงานการวิจัย
การรายงาน การประเมินผลโครงการ
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
การเขียนบทคัดย่อ และ Abstract
การเขียนรายงาน.
การเขียนรายงานการวิจัย
เรื่อง การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการวิจัย
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การเขียนข้อเสนอโครงการ
โครงงานฝึกปฏิบัติงาน “ ”
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ให้น่าสนใจได้อย่างไร
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
รูปแบบรายงาน.
การฝึกงาน รายวิชาในกลุ่มวิชาเอกบังคับของหลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา การฝึกปฏิบัติงานจริง จะทำให้นิสิตได้มีโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
การเขียนรายงาน.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเขียนเสนอรายงานโครงงาน คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
การประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งนายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขา )
16. การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานทางธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ ส่วนนำ ส่วนเนื้อหา ส่วนอ้างอิงหรือส่วนท้าย ปัญหาพิเศษ

วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ ส่วนนำ ปกนอก สันปก ใบรับรองปัญหาพิเศษ ปกใน บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ ส่วนเนื้อหา บทนำ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนการดำเนินงาน ผลของการดำเนินงาน สรุปผลและข้อเสนอแนะ ส่วนอ้างอิงหรือส่วนท้าย บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้เขียน ปัญหาพิเศษ

ส่วนนำ 1. ปกนอก ปกนอกของปัญหาพิเศษเป็นปกแข็งสีน้ำเงิน ตัวอักษรบนปกนอกพิมพ์ด้วยอักษรสีทอง ที่ประกอบด้วย - ชื่อเรื่อง - ชื่อผู้แต่งหรือผู้จัดทำ ให้นำหน้าด้วย นาย นาง หรือยศต่างๆ - ระบุชื่อหลักสูตร สาขาวิชา ภาควิชา สถาบัน และปีการศึกษาที่จบ - ระบุคำว่าลิขสิทธิ์ของสถาบัน ภาพประกอบ ปัญหาพิเศษ

ส่วนนำ 2. สันปก พิมพ์ชื่อผู้แต่ง และปีการศึกษาที่สำเร็จการศึกษา 3. ใบรับรองปัญหาพิเศษ เป็นใบรับรองปัญหาพิเศษ และลงนามในใบรับรองโดยกรรมการสอบปัญหาพิเศษ และหัวหน้าภาควิชาฯ ภาพประกอบ ปัญหาพิเศษ

ส่วนนำ เขียนบทคัดย่อเป็นภาษาไทย ที่ประกอบไปด้วย 4. ปกใน ข้อความในหน้าปกในเหมือนกันกับหน้าปกนอกทุกประการ 5. บทคัดย่อ เขียนบทคัดย่อเป็นภาษาไทย ที่ประกอบไปด้วย - ชื่อสกุลผู้ทำ ชื่อเรื่อง สาขาวิชา สถาบัน ชื่ออาจารย์ และปีการศึกษา - วัตถุประสงค์ ขอบเขต วิธีการศึกษา ผลและสรุป - ระบุจำนวนรวมของเล่ม - ประธานกรรมการที่ปรึกษาลงนาม ภาพประกอบ ปัญหาพิเศษ

ส่วนนำ 8. สารบัญตาราง 9. สารบัญภาพ ส่วนที่แจ้งหมายเลขของภาพ 6. กิตติกรรมประกาศ ข้อความกล่าวขอบคุณผู้ที่ช่วยเหลือและให้ความร่วมมือ 7. สารบัญ รายการที่แสดงส่วนประกอบสำคัญทั้งหมด 8. สารบัญตาราง ส่วนที่แจ้งหมายเลขของตาราง 9. สารบัญภาพ ส่วนที่แจ้งหมายเลขของภาพ ภาพประกอบ ภาพประกอบ ปัญหาพิเศษ

ส่วนเนื้อหา 1. บทนำ เป็นบทแรกของปัญหาพิเศษ ที่ประกอบไปด้วย 1. บทนำ เป็นบทแรกของปัญหาพิเศษ ที่ประกอบไปด้วย - ความสำคัญของปัญหา และมูลเหตุการจูงใจในการทำงาน - วัตถุประสงค์ - ขอบเขต - สถิติ หรือแนวความคิดที่นำมาใช้ (ถ้ามี) - ประโยชน์ที่จะได้รับ ปัญหาพิเศษ

ส่วนเนื้อหา 3. ขั้นตอนการดำเนินงาน 2. ทฤษฎีที่เกี่ยงข้อง 2. ทฤษฎีที่เกี่ยงข้อง เป็นบทที่สองของปัญหาพิเศษ ที่ประกอบไปด้วย - เนื้อหาที่สำคัญ - งานวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. ขั้นตอนการดำเนินงาน เป็นบทที่สามของปัญหาพิเศษ ที่ประกอบไปด้วย - ขั้นตอนและรูปแบบการทำงาน - วิธีการทำงาน และเครื่องมือที่ใช้ ปัญหาพิเศษ

ส่วนเนื้อหา 4. ผลของการดำเนินงาน 4. ผลของการดำเนินงาน เป็นบทที่สี่ของปัญหาพิเศษ ที่ประกอบไปด้วย - ผลของการศึกษา แสดงในรูปของภาพ กราฟหรือตาราง - อธิปรายและวิจารณ์ผลต่างๆ - ผลจากการวิเคราะห์ - ผลจากการคำนวณ - ผลจากการทดลอง - การเปรียบเทียบผล ปัญหาพิเศษ

ส่วนเนื้อหา 5. สรุปผลและข้อเสนอแนะ 5. สรุปผลและข้อเสนอแนะ เป็นบทที่ห้าของปัญหาพิเศษ ที่ประกอบไปด้วย - สรุปผลในประเด็นที่สำคัญทั้งหมด - ระบุผลงานสำคัญที่ค้นพบ - ปัญหาและข้อจำกัดของการทำงาน - ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไข ปัญหาพิเศษ

ส่วนอ้างอิงหรือส่วนท้าย 1. บรรณานุกรม หรือเอกสารอ้างอิง เป็นส่วนที่แสดงรายชื่อหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์ต่างๆ ที่ใช้อ้างอิงและประกอบการเขียนรายงาน โดยอยู่ระหว่างส่วนของเนื้อหาและภาคผนวก 2. ภาคผนวก เป็นส่วนที่เพิ่มเติมเพื่อช่วยเสริมสร้างความเข้าใจในเนื้อหาสาระ เช่น วงจรและภาพประกอบ การคำนวณต่างๆ แบบสอบถาม ตารางข้อมูลต่างๆ ภาพประกอบ ปัญหาพิเศษ

ส่วนอ้างอิงหรือส่วนท้าย 3. ประวัติผู้เขียน เป็นส่วนที่แสดงประวัติของผู้เขียน ที่ประกอบไปด้วย - ประวัติการศึกษาตั้งแต่ระดับปริญญาตรี สถานศึกษาและปีการศึกษา - ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ผลงานทางวิชาการ ตำแหน่งและ สถานที่ทำงานของผู้เขียน - สถานที่ติดต่อ ปัญหาพิเศษ

ปัญหาพิเศษ