บูรณาการการพัฒนาคุณภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพ นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล โดยใช้มาตรฐานใหม่ นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล บรรยายใน Re-accreditation Workshop โรงแรมหลุยส์ แทเวิร์น 24 พฤษภาคม 2550
Purpose คือจุดตั้งต้นของ การสร้างเสริมสุขภาพในงานประจำ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Purpose คือจุดตั้งต้นของ การสร้างเสริมสุขภาพในงานประจำ Plan/Design -> Do Purpose Process Performance ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้ ผู้ป่วยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี Study/Learn Act/Improve
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล เริ่มจาก Context ผู้ป่วยส่วนใหญ่ของเรา มีโอกาสได้รับประโยชน์จากแนวคิด HP อย่างไร ผู้ปวยกลุ่มไหนที่จะได้รับประโยชน์จากแนวคิด HP มีอะไรที่ควรเป็นการตอบสนองเฉพาะราย มีอะไรที่ควรจัดระบบสำหรับผู้ป่วยโดยรวม
เริ่มจาก C ตัวใดตัวหนึ่งหรือ S แล้วขยายไปสู่ส่วนอื่นที่เหลือ 1) ทดลองใช้มาตรฐานเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นจุดเริ่มต้น 2) วิเคราะห์บริบทขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานเรื่องนี้ (ควรอธิบายได้ว่าประเด็นดังกล่าวมีส่วนเสริมหรือเป็นความท้าทาย/อุปสรรคในการปฏิบัติตามมาตรฐานอย่างไร) 3) กำหนดเป้าหมายสำหรับเรื่องนั้น 4) กำหนดวิธีการประเมินการบรรลุเป้าหมาย 5) พิจารณาว่า core values ตัวใดบ้างที่มีประโยชน์สำหรับการนำมาตรฐานเรื่องนี้ไปปฏิบัติให้ได้ผล สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล: เรียนรู้เป็นผู้เยี่ยมสำรวจภายนอก
มาตรฐานที่ช่วยให้ HP เข้าไปอยู่ในชีวิตประจำวัน สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล มาตรฐานที่ช่วยให้ HP เข้าไปอยู่ในชีวิตประจำวัน
มาตรฐานที่ช่วยให้ HP เข้าไปอยู่ในชีวิตประจำวัน สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล มาตรฐานที่ช่วยให้ HP เข้าไปอยู่ในชีวิตประจำวัน
ระบบงานใดจะเข้ามาสนับสนุน HP สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ระบบงานใดจะเข้ามาสนับสนุน HP IS & KM จะมาสนับสนุน HP อย่างไร เป้าหมายและกลยุทธ์ HP ระดับองค์กรเป็นอย่างไร ต้องพัฒนาคนอย่างไรจึงจะเข้าใจ HP ความตื่นตัวและการมีส่วนร่วมของวิชาชีพ สิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ บันทึกเวชระเบียนที่ส่งเสริม HP นโยบายสาธารณะ สิ่งแวดล้อม การเสริมพลังชุมชน
การใช้มาตรฐาน Patient Care Process สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล การใช้มาตรฐาน Patient Care Process
มาตรฐาน -> ประเมิน -> พัฒนา สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล มาตรฐาน -> ประเมิน -> พัฒนา
ใช้กลุ่มผู้ป่วย (Clinical Population) เป็นตัวตั้ง สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ใช้กลุ่มผู้ป่วย (Clinical Population) เป็นตัวตั้ง กลุ่มผู้ป่วย (Clinical Population) ประเด็นการสร้างเสริมสุขภาพ Stress coping Anti-smoking Acute MI Chest / breathing exercise Environment control Drug adjustment Asthma Complication prevention Ambulation Social deprivation Stroke Pain management Use of inner resource Peaceful & dignity Malignancy
ใช้ Core Values ช่วยให้บรรลุเป้าหมาย สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ใช้ Core Values ช่วยให้บรรลุเป้าหมาย จะใช้แนวคิดเรื่อง สุขภาพคือดุลยภาพ ในการดูแลผู้ป่วยอย่างไร จะใช้แนวคิดการมุ่งผลลัพธ์ กับการสร้างเสริมสุขภาพอย่างไร จะทำให้แนวคิด empowerment อยู่ในใจของเราตลอดเวลาได้อย่างไร
Outcome Mapping: เครื่องมือ monitor พฤติกรรม สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Outcome Mapping: เครื่องมือ monitor พฤติกรรม
ความสัมพันธ์ระหว่าง Program & Partners สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ความสัมพันธ์ระหว่าง Program & Partners Boundary Partners Program Outcome Challenge & Progress Markers Strategies & Activities Organizational Practices
กลยุทธ์คือตัวเชื่อมต่อ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล กลยุทธ์คือตัวเชื่อมต่อ คนไทย ไร้พุง Mass media Role model Facilities Nutritional labeling Campaign
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 6 Strategies
ระบบสารสนเทศทางคลินิก สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Chronic Care Model ระบบบริการสุขภาพ ชุมชน หน่วยบริการสุขภาพ ทรัพยากร และนโยบาย ออกแบบระบบบริการ (Delivery System Design) ระบบสารสนเทศทางคลินิก (Clinical Information System) สนับสนุนการดูแลตนเอง (Self-Management Support) สนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support) ปฏิสัมพันธ์ที่ก่อประโยชน์ (Productive Interactions) ผู้ป่วย/ผู้ดูแล ที่ได้รับข้อมูล/ตื่นตัว (Informed, Activated Patient & Caregivers) ทีมผู้ให้บริการ ที่มีการเตรียมตัว (Prepared Practice Team) ประเมินทักษะ ความมั่นใจ ปรับแนวทางการดูแลทางคลินิก ร่วมกันกำหนดเป้าหมาย/แผนการดูแลร่วม ติตตามอย่างแข็งขันและต่อเนื่อง ผู้ป่วยเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่ตนเป็น ตระหนักในบทบาทที่จะจัดการดูแลตนเอง ครอบครัวและผู้ดูแลมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองของผู้ป่วย ผู้ให้บริการถูกมองว่าเป็นผู้ชี้แนะอยู่ข้างเวที เมื่อผู้ป่วยมารับบริการ ทีมผู้ให้บริการ มีข้อมูลของผู้ป่วย, สิ่งสนับสนุนการตัดสินใจ, คน, เครื่องมือ, และเวลาเพียงพอ เพื่อให้การดูแลทางคลินิกบนพื้นฐานของข้อมูลวิชาการ และสนับสนุนการดูแลตนเองของผู้ป่วย ผลลัพธ์ที่ดีขึ้น (Improved Outcome)
ปฏิสัมพันธ์ที่เกิดผล การจัดบริการสุขภาพ สังคม สิ่งแวดล้อม Humanized Healthcare สุขภาวะของบุคคล ครอบครัว ชุมชน เข้าถึงความจริง ความดี ความงาม ก้าวสู่อิสรภาพ เชื่อมโยงมนุษย์และสรรพสิ่ง ขยายกรอบแนวคิดเรื่องสุขภาพ ดูแลทั้งโรค ความเจ็บป่วย และความทุกข์ เคารพในคุณค่า ศักดิ์ศรี ศักยภาพ บุคคลที่รักษา ดุลยภาพของตนเอง ทีมผู้ให้บริการ ที่มีหัวใจของ ความเป็นมนุษย์ ปฏิสัมพันธ์ที่เกิดผล เรียนรู้ความเป็นมนุษย์ การจัดบริการสุขภาพ สังคม สิ่งแวดล้อม ชุมชนเข้มแข็ง นโยบายสาธารณะ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและสังคม