ระบบฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิธีการตั้งค่าและทดสอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนใช้งาน
Advertisements

วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
Accessing Web Application Data at Any Time 1. 2 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ผศ. กานดา สายแก้ว อาจารย์ผู้ร่วมประเมินโครงการ ผศ. อนัตต์ เจ่าสกุล รศ. วนิดา แก่นอากาศ.
Graduate School Khon Kaen University
ระบบส่งเสริมการเกษตร
Accessing Web Application Data at Any Time
สารสนเทศ ด้านการจัดการเรียน-การสอน
ตัวอย่างการเขียน ในบทที่ 5.
ขอบเขตการสืบค้นข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
S T A N G M O N G K O L S U K L I B R A R Y งานสารสนเทศและห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ฐานข้อมูลทางวิชาการ.
1 ภวัต เรืองยิ่ง แผนก ฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส แก้ไขครั้งล่าสุด 11 May 2009.
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
กลุ่มบริการเทคนิค มีภารกิจหลัก 4 ภารกิจ
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ

เครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดใน
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
ระบบบริหารงบประมาณ และการเงิน (BIS)
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
บทที่ 8 ระบบบัญชีสินทรัพย์ถาวร
วิชาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
การสืบค้นสารสนเทศ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
Millennium : Import-Export Step by Step
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด : ความเป็นไปได้ในการจัดการ สารสนเทศ
หน่วยงานอื่นของรัฐหรือหน่วยงานอื่นใดที่ดำเนินกิจการของรัฐตาม กฎหมาย และได้รับเงินอุดหนุน หรือเงิน หรือทรัพย์สินลงทุนจากรัฐ กระทรวง ทบวง.
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ
การพัฒนาระบบ Union Catalog บนเครือข่าย ThaiLIS
สรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงาน
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
สรุปผลงานความร่วมมือระหว่างห้องสมุด
การติดตามผลการดำเนินงาน UC/TDC/Reference Database
ProQuest Nursing & Allied Health Source
ขั้นตอนการจัดทำโครงงาน
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
ยินดีต้อนรับ รายงานการดำเนินงานข้อมูลสารสนเทศ
1 การบริหารจัดการ เงินงบประมาณ และเงิน SP 2. 2 งบประมาณปี 2553 รายการจำนวนเงิน ( ล้าน บาท ) % งบบุคลากร 167, งบดำเนินงาน 8, งบลงทุน.
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
โดย สุกาญจนา ทิพยเนตร 1. สร้างสรรค์นวัตกรรมทางเทคโนโลยี สารสนเทศที่ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพสูงที่ นำมาสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้ 2. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เชี่ยวชาญ.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
มาตรฐานการจัดเก็บ การ ค้นคืน การแลกเปลี่ยนและการ เชื่อมโยงเครือข่าย สมพงษ์ เจริญศิริ สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
จัดทำโดย นายศรัณยู ตรียะโชติ KKU นายธีรวัฒน์ ทองประมูล KMITL Position System ESTATE GROUP.
จัดทำโดย นายศรัณยู ตรียะโชติ KKU นายธีรวัฒน์ ทองประมูล KMITL Position System.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
และเราจะเดินไปพร้อมกัน
โครงการเทคนิคและเทคโนโลยีสนับสนุนงานตรวจสอบ “Risk & Control” จัดโดย สำนักงานตรวจสอบภายใน จุฬาฯ วันที่ 22 กรกฎาคม 2553.
Acquisition Module.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม สำหรับ ห้องสมุดมหาวิทยาลัย / สถาบัน ตามโครงการพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย ศุภลักษณ์ จันทรารักษ์ศรี สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 26 ตุลาคม 2548

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลบรรณานุกรมกลาง (Union Catalog) ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยในประเทศ เพื่อสร้างแหล่งทรัพยากรความรู้ที่ใหญ่ที่สุดของชาติ สำหรับบุคลากรของประเทศ เพื่อเป็นต้นแบบของศูนย์รวมบรรณานุกรมแห่งชาติ (National Bibliographic Center)

เป้าหมาย มีฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม (Union Catalog) ที่รวมทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดมหาวิทยาลัย/สถาบัน ห้องสมุดสถาบันราชภัฏ ห้องสมุดสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และห้องสมุดสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน เพิ่มความสมบูรณ์ของฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม (Union Catalog) ด้วยการรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศที่อยู่ในสื่อประเภทต่าง ๆ

เป้าหมาย (ต่อ) 3. ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันโดยผ่านระบบการยืมระหว่างห้องสมุด 4. เป็นต้นแบบของศูนย์รวมบรรณานุกรมแห่งชาติ (National Bibliographic Center) 5. เป็นแหล่งทรัพยากรความรู้ที่ใหญ่ที่สุดของชาติ สำหรับบุคลากรของประเทศ ที่จะเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างสมบูรณ์

การดำเนินงาน พ.ศ. 2541 พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2547

ระบบ Union Catalog ประกอบด้วย โปรแกรม VTLS (Virtua) Z39.50 Protocol Data Storage System 25 Licenses โปรแกรม Virtua Client 75 Licenses โปรแกรม ILL Manager ของ RLG

การดำเนินงาน ปี 2547 วันที่ 4 มิถุนายน 2547 ประชุมคณะทำงานระบบฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม : ฝ่ายวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ครั้งที่ 4/2547 ที่ประชุมได้เชิญบริษัทฯ เข้าร่วมประชุมเพื่อดำเนินการจัดส่ง Initial Load ข้อมูลใหม่ทั้งหมด เพื่อเพิ่มเติมระเบียนบรรณานุกรม ให้ตรงตาม TOR

การดำเนินงานปี พ.ศ.2548 จัดประชุมและอบรม 5 ครั้ง วันที่ 18 – 27 มกราคม 2548 วันที่ 2 มีนาคม 2548 วันที่ 14 มิถุนายน 2548 วันที่ 25 กรกฎาคม 2548 วันที่ 18 สิงหาคม 2548

ความก้าวหน้าของการดำเนินงาน ปี พ.ศ.2548 ความก้าวหน้าของการดำเนินงาน ปี พ.ศ.2548 วันที่ 18-19 มกราคม 2548 อบรมระบบฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม (Union/List Catalog Training) วันที่ 20-21 มกราคม 2548 อบรมฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมงานวารสาร (Serials Catalog Training) วันที่ 24-25 มกราคม 2548 อบรม System Librarian Training วันที่ 26 มกราคม 2548 อบรมระบบยืม-คืนระหว่างห้องสมุด (Inter-library Loan) วันที่ 27 มกราคม 2548 อบรมระบบสืบค้นฐานข้อมูลบรรณานุกรม (OPAC Training)

ความก้าวหน้าของการดำเนินงาน ปี พ.ศ.2548 (ต่อ) ความก้าวหน้าของการดำเนินงาน ปี พ.ศ.2548 (ต่อ) วันที่ 2 มีนาคม 2548 ประชุมหารือวิธีแก้ไข duplication วันที่ 14 มิถุนายน 2548 อบรม Regional วันที่ 25 กรกฎาคม 2548 ประชุมปรับแผน (Action Plan) และLoad ข้อมูลที่เหลือ (กรกฎาคม 2547 – สิงหาคม 2548) วันที่ 18 สิงหาคม 2548 กลุ่ม Catalog ทบทวนการลงรายการให้ตรงกันทั้ง 24 แห่ง วันที่ 6 ตุลาคม 2548 บริษัทแจ้งผลการรวมข้อมูลครั้งที่ 3 ข้อเสนอปัญหาหนังสือภาษาไทย และขอทดสอบช่วง Go Live ตกลงเรื่องการตรวจสอบรายการข้อมูลชื่อวารสาร

ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม ทบวงฯ ได้จัดซื้อโปรแกรม VTLS (Virtua) สำหรับจัดเก็บฐานข้อ มูลสหบรรณานุกรม 1. ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม ประกอบด้วย 2 ฐาน 1.1 ฐานข้อมูลหลัก (หนังสือ วารสาร ฯลฯ) 1.2. ฐานข้อมูลรายการบรรณานุกรมของบทความวารสาร 2. ข้อมูลที่ส่งไปรวมกันประมาณ 3.6 ล้านระเบียน ในรูปของ ISO2709 3. กำหนด Master record ข้อมูลซ้ำซ้อนจะ merge เข้าไป แล้วเพิ่ม Location รหัสมหาวิทยาลัย/สถาบัน

ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม (ต่อ) 4. การเริ่มใช้งานจริง (Live) ระเบียนใหม่ที่ยังไม่มีในฐานข้อมูล ถือเป็น Master record 5. วิธีการทำงาน จะทำใน 2 ลักษณะ 5.1 Bottom-up 5.2 Top-down 6. ใช้มาตราฐานการลงรายการแบบสากล (AACR 2, MARC 21)

วิธีการสร้างฐานข้อมูล Batch Load Initial Load Online Addition Go live

UC Working with The Record Loading Process 1 Export data 2 3 de-dupe Add Library Symbol CU 3 Upload.sh Export data SCAN 2709 Program Connect to UNIFAC Via Web Browser Send data to UC Server Run vload.sh Reject File filename.ok 2 de-dupe UC 2 time / day

EDIS Electronic Data Information Source System Of Union Catalog Database Add / Modify Master Record cu ISO 2709 EDIS System UC split ku csv kku summary.csv Download File Members’ Library

3rd Time Record Loading  Total Records for 3rd Time = 236,242 Updating Original Record (Record already exist in UC)  Adding Library Symbol = 50,290 New Master Record (Record does not exist in UC)  New Master Records = 185,952

สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การเข้าร่วมของสมาชิกใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏ 41 แห่ง มหาวิทยาลัยราชมงคล 9 แห่ง สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน 1 แห่ง มหาวิทยาลัยสงฆ์ 2 แห่ง รวม 53 แห่ง รวมทั้งหมด (24+53) 77 แห่ง

ปัญหาและอุปสรรค นโยบายการรับสมาชิก การบริหารจัดการ งบประมาณ คณะกรรมการ ส่วนกลาง / ระบบ งบประมาณ

แผนการดำเนินงานปี 2547 - 2551  แผนการดำเนินงาน 2547 2548 2549 2550 ห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ 24 แห่ง รวบรวมและจัดเก็บสารสนเทศประเภทต่าง ๆ เพิ่มเติมลงในระบบ Union Catalog  ประชุมคณะกรรมการบริหารฐานข้อมูลและคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ จัดหาและจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน

แผนการดำเนินงานปี 2547 – 2551 (ต่อ) 2548 2549 2550 2551 ห้องสมุดสถาบันราชภัฏ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ทำแผนการปฏิบัติงาน รวบรวมและจัดเก็บสารสนเทศลงในระบบ Union Catalog  จัดหาอุปกรณ์เพิ่มเติม/ทดแทน ฝึกอบรม ประเมินผลโครงการ

รูปแบบ UC ในอนาคต (แบบที่1) จัดทำโดย คุณจีระพล คุ่มเคี่ยม

รูปแบบ UC ในอนาคต (แบบที่2) จัดทำโดย คุณจีระพล คุ่มเคี่ยม

END suphalak.c@car.chula.ac.th