พระบิดาแห่งเทคโนโลยีไทย
พระบิดาแห่งวิทยุสื่อสารไทย
พระบิดาแห่งวิทยุสื่อสารไทย
แสดงความหมายของสัญญลักษณ์ สถานีแม่ข่ายหลัก (ควบคุมเครือข่าย) ทำงาน สถานีลูกข่าย (ทำงาน) สถานีลูกข่ายย่อย (ยังไม่ใช้งาน) เครื่องแม่ข่าย เครื่องลูกข่าย เครือข่ายสถานีวิทยุสื่อสารในเขต สชป.8
สถานีแม่ข่ายหลักแต่ละจังหวัด ในเขต สชป.8 สชป.5 อุดร สชป.6 92 สชป.7 218 ศก.222 บร.209 นม. สชป.8 204 สร.207 มูลล่าง
ศรีสะเกษ สุรินทร์ มูลล่าง กส.2/08 ฝ่ายสื่อสารฯ สชป.8
เครือข่ายสถานีวิทยุสื่อสาร สชป.8 บุรีรัมย์ 209 สุรินทร์ 207 ทุ่งสัมฤทธิ์ 205 ( ย้ายเสาและย้ายที่ทำการใหม่) มูลล่าง ( ย้ายที่ทำการใหม่ ) ลำตะคอง 214,214-2 HSR 204 ยกเว้น นม. และ ก่อสร้าง 1 ศรีสะเกษ 222 ก่อสร้าง 1 นครราชสีมา เครือข่ายสถานีวิทยุสื่อสาร สชป.8 ลำพระเพลิง 213 ก่อสร้าง 2 แม่ข่ายหลัก มูลบน 295 ลำปลายมาศ ลำนางรอง 216
การเดินทางจากนครราชสีมา การเดินทางจากนครราชสีมา อำเภอเฉลิมพระเกียรติ 18 กิโลเมตร อำเภอขามทะเลสอ 22 กิโลเมตร อำเภอโนนไทย 29 กิโลเมตร อำเภอโนนแดง 30 กิโลเมตร อำเภอโชคชัย 31 กิโลเมตร อำเภอปักธงชัย 34 กิโลเมตร อำเภอสูงเนิน 36 กิโลเมตร อำเภอโนนสูง 37 กิโลเมตร อำเภอพระทองคำ 37 กิโลเมตร อำเภอจักราช 40 กิโลเมตร อำเภอสีคิ้ว 45 กิโลเมตร อำเภอขามสะแกแสง 50 กิโลเมตร อำเภอหนองบุนนาก 52 กิโลเมตร อำเภอครบุรี 58 กิโลเมตร อำเภอพิมาย 60 กิโลเมตร อำเภอห้วยแถลง 65 กิโลเมตร การเดินทางจากนครราชสีมา อำเภอวังน้ำเขียว 70 กิโลเมตร อำเภอคง 79 กิโลเมตร อำเภอด่านขุนทด 84 กิโลเมตร อำเภอบ้านเหลื่อม 85 กิโลเมตร อำเภอปากช่อง 85 กิโลเมตร อำเภอสีดา 85 กิโลเมตร อำเภอเสิงสาง 88 กิโลเมตร อำเภอเทพารักษ์ 90 กิโลเมตร อำเภอประทาย 97 กิโลเมตร อำเภอชุมพวง 98 กิโลเมตร อำเภอบัวใหญ่ 101 กิโลเมตร อำเภอบัวลาย 106 กิโลเมตร อำเภอเมืองยาง 110 กิโลเมตร อำเภอแก้งสนามนาง 130 กิโลเมตร อำเภอลำทะเมนชัย 130 กิโลเมตร
จากการทดสอบลงพื้นที่ใช้งานจริงเพื่อหาประสิทธิภาพของแม่ข่ายต่างๆ HSR 213-3 HSR 204 ลูกข่ายต่างๆ โคราช 29.7 กม. อ.โชคชัย 37.9 กม. 26.6 กม. HSR 213 HSR 295 ฝ่ายสื่อสารฯ สชป.8 มูลบน ลำพระเพลิง
สถานีรีเลย์อัตโนมัติ หรือ รีพีทเตอร์นั่นเอง ( ตัวอย่าง ) เขายายเที่ยง ศรีสะเกษ เขากระโดง สุรินทร์ นครราชสีมา ฝ่ายสื่อสารฯ สชป.8
ฝ่ายสื่อสารฯ สชป.8 ระยะทาง 272 กม. ระยะทาง 167 กม. ( 94.6 ) กม. ระยะทาง 124 กม. ฝ่ายสื่อสารฯ สชป.8
ข้อพิจารณาสรุปภาพรวม สถานีวิทยุสื่อสาร โครงการฯในเขต สชป.8 1.ระบบสายส่ง-สายอากาศ และเสาส่งมีสภาพยังพร้อมใช้งานได้ 85-90 % 2.สภาพเครื่องวิทยุรับ-ส่ง มีสภาพ 85 % เมื่อซ่อมบำรุงแล้วก็พร้อมใช้งานได้ทันที 3.อาคารที่ทำการ สถานีสื่อสารสภาพเก่า บางแห่งชำรุดทรุดโทรมอย่างมาก 4.สาเหตุที่ไม่มีการใช้งานภาพรวม เครื่องเสียและไม่ได้ซ่อมบำรุงรักษา / ไม่มี จนท. 5.อุปกรณ์เครื่องมือสื่อสารไม่ได้อยู่ในห้องควบคุมอุณหภูมิที่เหมาะสม/ถูกต้อง ข้อนำเสนอ 1.ควรแยกแยะข่าวและที่มาของข้อมูล แบบไหนที่ควรส่งผ่านวิทยุสื่อสาร เพื่อประหยัด 2.เครื่องมือสื่อสารควรจะอยู่ในห้องควบคุมอุณหภูมิ หากทำได้ ( เพื่อยืดอายุใช้งาน ) 3.การบริหารจัดการ จนท.สื่อสาร ยังไม่ชัดเจนเท่าที่ควร ( ต้องผ่านการฝึกฝนที่ถูกวิธี )
แนวทางการพัฒนาต่อในโอกาสต่อไป ระดับโครงการฯควรมีช่องทางการสื่อสาร ให้ครบทุกช่องทาง และมีเจ้าหน้าที่ๆ มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านนี้โดยตรง หรือผ่านการฝึกหัด/อบรม ระบบก็จะเกิดประสิทธิภาพสูงเมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินหรือในภาวะปกติ ( ไฟฟ้า,อิเลคทรอนิคส์,คอมพิวเตอร์,สารสนเทศ เป็นต้น ) ดังนั้นข้อมูลหรือข่าวสารจะถูกกลั่นกรองเป็นระบบ และตรวจสอบได้พร้อมส่งออกตามช่องทางต่างๆที่มีไว้รองรับอยู่แล้วอย่างเหมาะสม มีผู้ดูแลข่าวสารและสามารถรับผิดชอบได้ ซึ่งจะทำให้ข่าวสารถูกต้องชัดเจนและเป็นมาตรฐานเดียวกัน เมื่อข่าวออกจากแหล่งเดียวกัน ฝ่ายสื่อสารฯ สชป.8
ปัจจัยสนับสนุนการสื่อสาร (วิทยุสื่อสาร) ที่มีประสิทธิภาพ จิตวิญญาณ/สามัญสำนึก ของผู้ทำหน้าที่เจ้าหน้าที่สื่อสาร พนักงานสื่อสาร พนักงานวิทยุ และผู้บริหารทุกภาคส่วนต้องหันมาใส่ใจให้การสนับสนุนอย่างจริงจังและใช้ประโยชน์
ศูนย์หรือสถานีแม่ข่าย ศูนย์ควบคุม สำนักงาน , ลูกข่าย , ผู้ใช้งาน เมื่อทุกหน่วยงานหันมาช่วยรักษาระบบเอาไว้ระบบที่มีอยู่ก็จะถูกพัฒนาตามวาระเช่นเดียวกับเทคโนโลยีอื่นๆ ศูนย์หรือสถานีแม่ข่าย ANTENNA HSR 204 ศูนย์ควบคุม สำนักงาน , ลูกข่าย , ผู้ใช้งาน ภาพแสดงการเรียกติดต่อของวิทยุสื่อสารเฉพาะกลุ่มแบบติดตั้งประจำที่ ฝ่ายสื่อสารฯ สชป.8
เราเรียกการปฏิบัติการครั้งนี้ว่า “ การฟื้นฟูระบบวิทยุโทรคมนาคมและการสื่อสาร ” ให้กับ กรมชลประทาน เพื่อพัฒนาการช่องทางการสื่อสารและอำนวยความสะดวก สนับสนุน ในการบริหารจัดการน้ำ ในเขต สชป.8 ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป ฝ่ายสื่อสารฯ สชป.8