Unix: basic command.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การควบคุมตำแหน่งการแสดงผล และการจัดวางข้อมูลบนจอภาพ
Advertisements

การใช้งาน Linux เบื้องต้น
Introduction to C Introduction to C.
เสรี ชิโนดม MS SQLServer 7 เสรี ชิโนดม
การใช้เครื่องพิมพ์และเครื่อง ถ่ายเอกสาร ระบบออนไลน์
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language

Chapter IV : สร้างการติดต่อ
การเขียนคำสั่งเชื่อมต่อฐานข้อมูล
Lab Login แล้วดำเนินการดังต่อไปนี้ ที่ home directory สร้าง sub directory ชื่อ Lab01 พิมพ์คำสั่ง cd Lab01 พิมพ์คำสั่ง pwd แล้วกด Enter พิมพ์คำสั่ง.
การใช้งาน vi การเรียกโปรแกรม การทำงานของโปรแกรม vi ชื่อไฟล์
ความหมายของซอฟท์แวร์ (Software, Program)
การใช้ PHP ติดต่อกับ Text File
Introduction to C Programming.
โครงสร้างภาษาซี.
การใช้ Command Line Interface อ. ดร. ธรา อั่งสกุล.
การสร้าง Shortcut คลิกขวาที่ Fileหรือ Folder หรือสิ่งที่จะสร้างเป็น Shortcut เลือกคำสั่ง.
ASP [# 9] การติดต่อข้อมูล Text Files
HTTP Client-Server.
โครงสร้าง HTML โครงสร้างพื้นฐาน HTML คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <BR>
การใช้งานฐานข้อมูล Business Sources Complete
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database
การใช้งานลีนุกซ์ขั้นพื้นฐาน ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์.
Operating System ฉ NASA 4.
Seree Chinodom Recordset Object Seree Chinodom Computer Science, BUU.
SCC : Suthida Chaichomchuen
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
การสร้างจดหมายเวียน.
SC131 ภาคต้น 2550 การอ่านและเขียนสตรีม
การจัดการแฟ้มข้อมูล.
Search Engine อ. กฤษฎา ศักดิ์คำดวง.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Page: 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคำสั่ง DOS DOS Command มหาวิทยาลัยเนชั่น จังหวัดลำปาง ผศ. บุรินทร์
Copy by Batch File โครงสร้างคอมพิวเตอร์ และภาษาแอสเซมบลี้
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
ทำงานกับ File และStream
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
โปรแกรม DeskTopAuthor
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
วาดภาพสวยด้วย Paint.
ใบงานที่ 7 การรับและแสดงผลข้อมูล
ระบบปฏิบัติการ DOS Disk Operating System.
Endnote V.X2 โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม ประไพ จันทร์อินทร์ สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
Chapter 3 Set a Server by Linux.
CHARPTER 3 การสอบถามข้อมูลพื้นฐาน
การนำเสนองานบนอินเตอร์เน็ต
การพิมพ์งานออกทางเครื่องพิมพ์
Solaris 10.
บทที่ 3 Windows OUTLINE คำสั่งเกี่ยวกับไฟล์และโฟลเดอร์
บทที่ 4 การทำงานกับรายงาน (Report)
การใช้งานระบบจัดการฐานข้อมูล Mysql ผ่าน phpmyadmin
การพิมพ์และถ่ายเอกสาร ระบบออนไลน์ การพิมพ์และถ่ายเอกสาร ระบบออนไลน์
ADO.NET (การบริหารและจัดการข้อมูล)
“Disk Operating System”
เฉลิมชัย ประเทืองรัตน์ อาจารย์ประจำหมวด คอมพิวเตอร์ วุฒิทางการศึกษา วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
การจัดการแฟ้มข้อมูล.
โครงสร้าง ภาษาซี.
นาย ปวเรศ ชาวเวียง รหัสนิสิต
BC305 การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ
NETWORK SERVICE NTP + SQUID
Permission&User command/ LAMP. User command adduser [username] [option] passwd [username] deluser [option] [username]
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Patient Monitoring ผู้จัดโดย นายกันต์ ศิริงามเพ็ญ KMITL
Introduction EndNote เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับจัดการข้อมูลทางบรรณานุกรมที่ได้มาจากการบันทึกข้อมูลด้วยตนเอง การสืบค้นและถ่ายโอน (Import) ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง.
FILE AND DIRECTORIES พื้นฐานลินุกส์ ผู้สอน นายวุฒิชัย คำมีสว่าง.
ระบบแฟ้มข้อมูล.
Introduction การใช้งาน Linux ด้วย command line สามารถเข้าถึงได้ 3 วิธี
การจัดการไฟล์ File Management.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Unix: basic command

find เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับค้นหาแฟ้มข้อมูล โครงสร้างคำสั่ง find [path].. expression ลักษณะของ expression เช่น -name [pattern] เพื่อใช้หาชื่อ file ตาม pattern ที่ระบุ ตัวอย่าง find -name “*.doc”

ls เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับแสดงแฟ้มข้อมูล (ในทำนองเดียวกับ dir) มากจากคำว่า list โครงสร้างคำสั่ง ls [option]... [file]... โดย option ที่มักใช้กันใน ls คือ -l จะแสดงผลลัพธ์แบบ Long Format ซึ่งจะแสดง Permission ของแฟ้มด้วย -a จะแสดงแฟ้มข้อมูลทั้งหมด -F จะแสดง / หลัง Directory และ * หลังแฟ้มข้อมูลที่ execute ได้ ตัวอย่าง ls -l ls -F ls /usr/bin

rmdir เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการลบ directory (ในทำนองเดียวกับ dos) มาจากคำว่า remove directory โครงสร้างคำสั่ง rmdir แก[file]... ตัวอย่าง rmdir /home

chmod : change permissions เป็นคำสั้งที่ใช้เปลี่ยนสิทธิของไฟล์ 0 หมายถึง ทำอะไรไม่ได้กับแฟ้มนั้นเลย 1 หมายถึง ประมวลผลอย่างเดียว 2 หมายถึง เขียนได้อย่างเดียว 3 หมายถึง เขียนและประมวลผลได้ 4 หมายถึง อ่านได้อย่างเดียว 5 หมายถึง อ่านและประมวลผลได้ 6 หมายถึง อ่านและเขียน แต่ประมวลผลไม่ได้ 7 หมายถึง ทำได้ทุกอย่าง ทั้งอ่าน เขียน และประมวลผล เช่น # chmod 751 test (Absolute Permission ) 751 คือ ค่าของสิทธิของไฟล์

1 2 4 1 2 4 1 2 4

mkdir เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการสร้าง directory (ในทำนองเดียวกับ dos) มาจากคำว่า make directory โครงสร้างคำสั่ง mkdir [file]... ตัวอย่าง mkdir /home

cd เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับเปลี่ยน directory ปัจจุบัน (ในทำนองเดียวกับ cd) มาจากคำว่า change directory โครงสร้างคำสั่ง cd directory โดย directory ในที่นี้อาจเป็น relative หรือ absolute path ก็ได้ ตัวอย่าง cd /usr cd ~ (เป็นการเข้าสู่ home directory) cd - (เป็นการยกเลิกคำสั่ง cd ครั้งก่อน) cd .. (เป็นการออกจาก directory 1 ชั้น ข้อควรระวัง : คำสั่ง cd บน UNIX จะต้องมีเว้นวรรคเสมอ

pwd เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับแสดง Directory ปัจจุบัน (ในทำนองเดียวกับการพิมพ์ cd บน DOS) มาจากคำว่า print work directory โครงสร้างคำสั่ง / ตัวอย่าง pwd

rm เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับลบแฟ้มข้อมูล (ในทำนองเดียวกับ del) มาจากคำว่า remove โครงสร้างคำสั่ง rm [option]... [file]... โดย option ที่มักใช้กันใน rm คือ -r ทำการลบข้อมูลใน directory ย่อยทั่งหมด -i โปรแกรมจะถามยืนยันก่อนทำการลบ ตัวอย่าง rm –r test/ rm test.doc

mv เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการย้ายแฟ้มข้อมูลและ Directory รวมถึงการเปลี่ยนชื่อด้วย (ในทำนองเดียวกับ move) มาจากคำว่า move โครงสร้างคำสั่ง mv source target ตัวอย่าง mv *.tar /backup mv test.txt old.txt mv bin oldbin

cp เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับสำเนาแฟ้มข้อมูล (ในทำนองเดียวกับ copy) มาจากคำว่า copy โครงสร้างคำสั่ง cp source target ตัวอย่าง cp test.txt test1.bak

cat เป็นคำสั่งที่ใช้ดูข้อมูลของไฟล์ คล้ายกับ type ใน dos และยังใช้สร้างไฟล์ได้ด้วย ใน ตัวอย่าง # cat named.conf การสร้างไฟล์ # cat > ชื่อไฟล์ พิมพิ์ข้อความลงไป Ctrl+D เพื่อจบไฟล์

head จะแสดงส่วนหัวของแฟ้มข้อมูล ตามจำนวนบรรทัดที่ต้องการ โครงสร้างคำสั่ง head [option] file โดย option ที่มักใช้กันใน chown คือ -n เพื่อทำการระบุบรรทัดที่ต้องการ (หากไม่ระบุจะเป็น 10 บรรทัด) ตัวอย่าง head data.txt head -n 10 data.txt

tail จะแสดงส่วนท้ายของแฟ้มข้อมูล ตามจำนวนบรรทัดที่ต้องการ โครงสร้างคำสั่ง tail [option] file โดย option ที่มักใช้กันใน chown คือ -n เพื่อทำการระบุบรรทัดที่ต้องการ (หากไม่ระบุจะเป็น 10 บรรทัด) -c เพื่อระบุจำนวน byte ตัวอย่าง tail data.txt tail -n 10 data.txt

whoami ใช้เพื่อแสดงว่าผู้ใช้ซึ่ง login เข้าสู่ระบบนั้น (ตัวเราเอง) login ด้วยชื่ออะไร โครงสร้างคำสั่ง/ตัวอย่าง whoami

who ใช้เพื่อแสดงว่ามีผู้ใช้ใดบ้างที่กำลังทำงานอยู่บนระบบ โครงสร้างคำสั่ง/ตัวอย่าง who

finger ใช้สำหรับแสดงรายละเอียดของผู้ใช้ โครงสร้างคำสั่ง กรณีไม่ระบุชื่อ finger จะแสดงรายละเอียดของ User ที่กำลัง logon อยู่บนเครื่องนั้นๆ ทั้งหมด ตัวอย่าง finger krerk