Knowledge Management ; KM Artificial Intelligence ; AI Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge Management การบริหารความรู้ในองค์กร หัวใจของธุรกิจที่พึ่งพาระบบสารสนเทศ ใช้ความรู้เป็นหลักในการดำเนินธุรกิจโดยผลิตสินค้าหรือบริการที่มีนวัตกรรมหรือต้นทุนต่ำกว่าคู่แข่ง ทรัพย์สินทางปัญญามีความสำคัญต่อการได้เปรียบในการแข่งขันและสร้างความอยู่รอดได้มากกว่าทรัพย์สินอื่นๆขององค์กร Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge Management ความรู้จึงกลายเป็นเครื่องมือหรือกลยุทธ์สำคัญในการบริหารกิจการสมัยใหม่ในยุคดิจิตอล องค์กรที่มีความรู้ ความสามารถจะมีประสิทธิภาพในการทำงานมากกว่าขึ้นกว่าเดิม จึงควรเพิ่มพูนความรู้ให้แก่องค์กรผ่านกลไกการเรียนรู้ในหลากหลายรูปแบบ เช่น กระบวนการลองผิดลองถูก กระบวนการวิจัย การรวบรวมความรู้จากสื่อดิจิตอลหรืออินเทอร์เนต ฯลฯ Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge Management Definition “กระบวนการที่องค์กรพัฒนาขึ้นมาเพื่อนำมา สร้าง รวบรวม เก็บรักษา บำรุงรักษา และเผยแพร่ความรู้ขององค์กร” (Laudon and Laudon,2002) โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือหลักในการบริหารความรู้และกระบวนการเรียนรู้ บางองค์กรขาดกระบวนการบริหารที่ดี ทั้งๆที่มีความรู้อยู่อย่างมากมาย ,So…กระบวนการบริหารความรู้ที่ดี คือ กระบวนการเก็บรวบรวมความรู้ (Capture & Codifying Process) กระบวนการแจกจ่ายความรู้ (Distribute & Share of Knowledge) Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge based Economy "สู้ด้วยสมอง” "ความมั่งคั่งใหม่ของโลก สร้างขึ้นจากความรู้….แต่ประชากรส่วนใหญ่ของโลก ยังคงทำงานในธุรกิจหรือบากบั่นกับการผลิต ประกอบ หรือขายโภคภัณฑ์ …ดังนั้นช่องว่างระหว่างผู้ที่รู้จักเทคโนโลยีกับผู้ไม่รู้จึง ขยายตัว อย่างง่ายดาย เมื่อการวิจัยและพัฒนาไปเร็วขึ้น" "ในขณะที่ 3 อันดับแรกของบริษัทที่ร่ำรวยที่สุดในสหรัฐ เป็นธุรกิจซอฟท์แวร์ทั้งสิ้น ซึ่งที่หนึ่งในนั้นจะเป็นใครไปไม่ได้ นอกจาก บิลเกตต์ ประธานไมโครซอฟท์ และตามมาด้วยอันดับที่ 6 นายไมเคิล เดลล์ เจ้าของ Dell.com ผู้ผลิตฮาร์ดแวร์ซัพพลายเชนคอมพิวเตอร์อันโด่งดัง ทั้งหลายเหล่านี้ล้วนแล้วแต่ทำธุรกิจบน “ฐานแห่งความรู้ทั้งสิ้น" Kulachatr C. Na Ayudhya
Juan Enriquez As the Future Catches You : Nation Book (ฉบับแปล) "บริษัทที่ขยายตัวเร็วที่สุดทั้งในโลกนี้ มักเป็นพวกที่ขายความคิด ไม่ใช่บริษัทที่มีสินทรัพย์มากที่สุด" "ในปี 1965 สิงคโปร์เป็นเกาะเล็กๆ ยากจนและโดดเดี่ยว ไม่ได้เป็นประเทศด้วยซ้ำก่อนปี 1965 สิงคโปร์ไม่มีทางเลือก นอกจากให้การศึกษากับประชาชนของตน ปฏิรูปรัฐบาลและสั่งสมความรู้ ก้มหน้าก้มตาทำงานซึ่งประเทศนี้ก็ทำได้ ภายใต้การนำของ…ลี กวนยู" ในปี 1999 ชาวสิงคโปร์รวยกว่าชาวอังกฤษ 2 % มาเลเซียเขี่ยสิงคโปร์ออกในปี 1965 แต่มาวันนี้ มาเลเซียมีความมั่งคั่งต่อคนเป็นอันดับที่ 82 ของโลก และมีเงินสำรองระหว่างประเทศต่อคน U$ 1,182 สิงคโปร์มีความมั่งคั่งต่อคนเป็นอันดับที่ 9 ของโลก และมีเงินสำรองระหว่างประเทศต่อคน U$ 23,415 ดัดแปลงจากหนังสือที่อยากให้ลูกศิษย์ทุกคนอ่าน และ รัฐมนตรีทุกคนในรัฐบาลนี้ก็ถูกนายกสั่งให้อ่านทุกคนเช่นกัน Juan Enriquez As the Future Catches You : Nation Book (ฉบับแปล) Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge Work System ;KWS ระบบที่อำนวยความสะดวกในการไหลเวียนข้อมูล ข่าวสารภายในองค์กร ทำให้องค์กรมีความเข้าใจและตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ ระบบงานองค์กร ระบบเครือข่ายภายใน ภายนอกองค์กร ระบบฐานข้อมูล ระบบเหมืองข้อมูล โปรแกรมประยุกต์สำหรับการสื่อสารระหว่างกัน(Chatting Program ;MSN,ICQ or Lotus Note) องค์กรที่มีการใช้ IT เพื่อการบริหารข้อมูลข่าวสารเหล่านี้ จึงนิยมเรียกว่า องค์กรดิจิตอล (Digital Firm) Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge Work System ;KWS ลักษณะของฐานความรู้ในองค์กร ความรู้ภายในองค์กรที่มีโครงสร้าง เช่น คู่มือการใช้งาน (manual) ,รายงานการวิจัย ความรู้ภายนอกองค์กร เช่น ข้อมูลคู่แข่ง สภาวะตลาด อัตราดอกเบี้ย ความรู้โดยนัย (Tactic Knowledge) เป็นความรู้ที่ไม่มีโครงสร้าง ไม่มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร รู้เองได้โดยนัย Kulachatr C. Na Ayudhya
IT Infrastructure for Knowledge Management แบ่งปันความรู้ กระจายความรู้ ระบบงานสำนักงาน - ระบบการไหลเวียน ข่าวสาร - ระบบงานเอกสาร - การพิมพ์เอกสาร - ปฏิทินอิเล็กทรอนิกส์ การประสานงานระหว่างกลุ่มและระบบสนับสนุน ระบบแลน อินทราเนต ระบบงานที่ต้องการใช้ความรู้ - คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ - ระบบงานเสมือนจริง ระบบปัญญาประดิษฐ์ - ระบบผู้เชี่ยวชาญ เก็บรวบรวมและสร้างรหัสความรู้ใหม่ สร้างความรู้ เครือข่าย ฐานข้อมูล หน่วยประมวลผล ซอฟท์แวร์ อินเทอร์เนต Laudon , Laudon ,2002 Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge Work System ;EX ตัวอย่างระบบงานภูมิปัญญา CAD/CAM ช่วยในงานการออกแบบทางอุตสาหกรรม Virtual Reality System ช่วยสร้างรูปภาพกราฟฟิกเสมือนจริง Investment Workstation เครื่องมือช่วยวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงิน Kulachatr C. Na Ayudhya
Artificial Intelligence ; AI ระบบปัญญาประดิษฐ์ Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya Kulachatr C. Na Ayudhya
Artificial Intelligence ; AI Is behavior by a machine that, if performed by a human being ความพยายามในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ให้มีพฤติกรรมเลียนแบบมนุษย์และเข้าใจภาษามนุษย์ Is concerned with two basic ideas : It involves studying the thought process of humans (Intelligence term) It deals with representing these process via machines (such as computer /robot) Kulachatr C. Na Ayudhya
Artificial Intelligence ; AI AI’s Characteristics มีความสามารถเข้าใจภาษามนุษย์ (Linguistics) มีการประสานงานระหว่างส่วนต่างๆได้ (Robotics) ตอบสนองได้ด้วยพฤติกรรม (มองเห็น,ได้ยิน,ออกเสียงได้) เลียนแบบความเชี่ยวชาญและการตัดสินใจของมนุษย์ได้ (Expert System & Decision making) มีความสามารถทางตรรกะและมีเหตุผล (Logic & Rational System) Kulachatr C. Na Ayudhya
Artificial Intelligence ; AI Natural Language ; ภาษามนุษย์ Robotics ; การประสานงานส่วนต่างๆ เข้าด้วยกัน Perceptive System ; การรับรู้และตอบสนอง Expert System ; มีความเชี่ยวชาญและตัดสินใจได้ Intelligence Machine ; เครื่องจักรที่ชาญฉลาด Kulachatr C. Na Ayudhya
Artificial Intelligence ; AI ประโยชน์ของระบบปัญญาประดิษฐ์ในเชิงธุรกิจ ช่วยเหลือกิจการงานที่เสี่ยงภัยอันตรายแต่ต้องการความสามารถของเครื่องจักรที่มีสติปัญญาชั้นสูง ให้คำปรึกษาในช่วงเวลาคับขันที่มนุษย์อาจประสบปัญหาในการตัดสินใจ ช่วยเหลือมนุษย์ในงานซ้ำซากจำเจและน่าเบื่อหน่าย ช่วยเสนอแนวทางการแก้ปัญหาสำหรับงานเฉพาะด้านที่มีปริมาณมาก หรือมีความซับซ้อนมากเกินไปสำหรับมนุษย์หรือต้องการให้งานนั้นเสร็จในเวลาอันสั้น Kulachatr C. Na Ayudhya
AI Example ระบบการเรียนรู้พฤติกรรมลูกค้าที่มีเครดิตดีของบริษัท VISA Learning Process Income Good Credit Debt Knowledge Based Inferencing Engine Age Bad Credit Computer/robot Payment Record Output Layer Input Layer Kulachatr C. Na Ayudhya