การศึกษาดูงาน รพ.เกาะพีพี การศึกษาดูงาน รพ.เกาะพีพี
จำนวนครั้งของผู้รับบริการชาวไทยและชาวต่างชาติ แยกตามฤดูกาลท่องเที่ยว เดือน/ปี ปีงบประมาณ 2555 ชาวต่างชาติ รวม ชาวไทย ชาย หญิง ต.ค. 2554 - ก.ย.2555 4,016 3,424 7,440 6,173 6,133 12,306 Low season 1,359 1,469 2,828 2,927 2,854 5,781 (เม.ย.2555 – ก.ย.2555) High season 2,657 1,955 4,612 3,426 3,279 6,705 (ต.ค.2554 – มี.ค.2555) เฉลี่ยผู้รับบริการ Low season 48 ต่อ / วัน High season 63 ต่อ / วัน
รพ.กระบี่ รพ.วชิระภูเก็ต รพ.เอกชน 2.เกณฑ์มาตรฐานด้านระบบบริการสุขภาพ (Healthcare Service Standards) 2.1 ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน(Emergency Medical System) อุบัติเหตุ หรือ เจ็บป่วยฉุกเฉิน เรียก 1669 รพ.กระบี่ รพ.วชิระภูเก็ต รพ.เอกชน รพ.เกาะพีพี
แผนรับภัยพิบัติสึนามิโรงพยาบาลเกาะพีพี รับแจ้งเตือนภัยพิบัติสึนามิ แจ้งผู้อำนวยการโรงพยาบาล ตรวจสอบเหตุภัยพิบัติ ผู้ใหญ่บ้าน ปลัดอำเภอ ศูนย์นเรนทร ใช่ ไม่ใช่ - อพยพผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ไปอยู่ชั้นสามของโรงพยาบาล - ขนย้ายอุปกรณ์ไว้ในที่ปลอดภัย - เจ้าหน้าที่สังเกตระดับน้ำทะเล ยกเลิกใช้แผน ประกาศยกเลิกเหตุภัยพิบัติ
เครือข่ายการส่งต่อผู้ป่วยของสถานบริการ 2.2 ระบบบริการการแพทย์ในโรงพยาบาลและการส่งต่อ เครือข่ายการส่งต่อผู้ป่วยของสถานบริการ รพ.วชิระภูเก็ต รพ.วชิระภูเก็ต รพ.สุราษฎร์ธานี รพ.ส่วนกลาง รพ.เกาะพีพี รพ.กระบี่ รพ.สงขลานครินทร์ รพ.เอกชนในจังหวัดภูเก็ต - รพ.กรุงเทพ-ภูเก็ต - รพ.มิชชั่นภูเก็ต - รพ.สิริโรจน์ รพ.มหาราชนครศรีธรรมราช รพ.ตรัง
ข้อเสนอจากการระดมสมองของนักยุทธ์ กรณีไปศึกษาดูงานโรงพยาบาลเกาะพีพี เอกสารชุดที่ ๓ ข้อเสนอจากการระดมสมองของนักยุทธ์ กรณีไปศึกษาดูงานโรงพยาบาลเกาะพีพี
1. สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม - การจัดการขยะอย่างเป็นระบบ เช่น จัดโซนนิ่ง แยกขยะ ทั้งในหน่วยบริการ/ เกาะพีพี/ การนำขยะกลับไปทิ้งบนฝั่ง ทุกครั้ง ทุกทัวร์ - ปรับปรุงห้องน้ำให้ได้มาตรฐาน HAS (หน่วยบริการ, สถานประกอบการ, สถานที่สาธารณะ) - การจัดการน้ำเสีย น้ำทิ้ง ร้านอาหาร ครัวเรือน - ปรับปรุงคุณภาพน้ำสะอาด - รณรงค์วัฒนธรรมความสะอาดและรักษาสิ่งแวดล้อม
2. การส่งต่อฉุกเฉิน (กรณีเจ็บป่วย) 2. การส่งต่อฉุกเฉิน (กรณีเจ็บป่วย) 2.1 เครือข่ายส่งต่อแบบบูรณาการภาครัฐ เอกชน หน่วยงานอื่นๆ - เรือส่งเชื่อมต่อเอกชน - เบิกค่าเรือตามประกัน - ใช้บริการ 1669 - อบรมการรักษาพยาบาลเบื้องต้น/การช่วยชีพ เจ้าของเรือและพนักงานขับเรือ 2.2 มีบุคลากรเวชกิจฉุกเฉิน เชี่ยวชาญเฉพาะทาง 2.3 พัฒนาทีม MERT อาสาสมัครกู้ชีพ - ใช้บริการเอกชน - ตั้งกองทุน - เพิ่มอัตรากำลัง 2.4 การดูแลเบื้องต้นอาการโรคน้ำหนีบก่อนไปรักษาต่อ
3. เตรียมเข้า AEC - เพิ่มทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ - เพิ่มทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ - การศึกษาวัฒนธรรมของประเทศอาเซียน - จัดสรรงบฯ เพื่อเตรียมการ - เตรียมความพร้อมด้านวัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ - พัฒนาระบบคุณภาพบริการ ให้รองรับสอดคล้องกับบริบทพื้นที่พิเศษ - พัฒนาด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ให้ได้มาตรฐานสากล - จัดทำคู่มือด้านสาธารณสุข - เผยแพร่ สอดแทรกความรู้ ในการประชุมทุกหน่วยให้เป็นแนวทางเดียวกัน - ส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวประกันสุขภาพ
4. อาหารปลอดภัย - พัฒนาร้านอาหาร แผงลอยได้มาตรฐาน CFGT - เมนูสุขภาพ เกาะพีพี - จัดโซนนิ่งร้านอาหาร - พัฒนาเครือข่ายผู้ประกอบการ - จัดทำข้อบังคับท้องถิ่น - ประชาสัมพันธ์ร้านที่รับรอง - รณรงค์เฝ้าระวังโรคอุจาระร่วง
5. ด้านระบบบริการ - พิจารณา GIS + ภาระงานพื้นที่พิเศษ 5. ด้านระบบบริการ - พิจารณา GIS + ภาระงานพื้นที่พิเศษ - พัฒนาทักษะการสื่อสาร ภาษาของบุคลากร
6. เตรียมพร้อมภัยพิบัติ 6. เตรียมพร้อมภัยพิบัติ - พัฒนาระบบสื่อสารให้มีความพร้อมและเพียงพอ (วิทยุสื่อสาร เทคโนโลยีที่ทันสมัย) - เตรียมความพร้อมเรื่องของยา เวชภัณฑ์และสิ่งจำเป็นพื้นฐาน ให้พร้อมสถานการณ์ - พัฒนาระบบเตือนภัยและการเตรียมรับภัยพิบัติให้มีมาตรฐาน เทียบเท่าสากล - พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของสถานบริการให้มีความเหมาะสม - สร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือจากทุกภาคส่วน โดยกำหนดให้มีบทบาท อย่างชัดเจน
7. โครงสร้างสถานบริการ - บ้านพักแพทย์/ เจ้าหน้าที่ 7. โครงสร้างสถานบริการ - บ้านพักแพทย์/ เจ้าหน้าที่ - ระบบปะปา/ น้ำดื่มสะอาด - สุขภัณฑ์ที่สามารถทนต่อการกัดกร่อนของน้ำ - ระบบเตรียมพร้อมสึนามิ (ตัวตึก) - เครื่องกำเนิดไฟฟ้า และการป้องกันน้ำท่วม
8. การท่องเที่ยว - มาตรฐานร้านประกอบการด้านสุขภาพ สปา นวด 8. การท่องเที่ยว - มาตรฐานร้านประกอบการด้านสุขภาพ สปา นวด - ควบคุมร้านประกอบการดำน้ำ ทักษะใต้น้ำ เน้นการอบรมที่มีคุณภาพก่อนดำน้ำ ป้องกันโรคน้ำหนีบ - การมีอุปกรณ์ปรับความดันเพื่อบำบัดโรคน้ำหนีบเครื่อง Chamber
การส่งต่อผู้ป่วยของเกาะพีพี Evidence Based การส่งต่อผู้ป่วยของเกาะพีพี