ท่าเทียบเรือ ฐท.พังงา.ทรภ.๓

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Advertisements

ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
สถานที่ที่กฎหมายอาญาใช้บังคับ
ผู้สูงอายุ ( อายุตั้งแต่ ๖๐ ปีขึ้นไป ) ประเภท ค่าธรรมเนี ยม ค่า สมัคร รวมเงิน ( บาท / ปี ) นักเรียน ( ป. ๑ – ม. ๖ ) ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ นักศึกษา ( อุดมศึกษา )
งานด้านเด็ก ในปี พ.ศ.๒๕๔๘ รับเด็กใหม่เข้ามา จำนวน ๑๓ คน มีเด็กรวมทั้งสิ้น ๑๔๔ คน แยกเป็นประเภทดังนี้ ประเภท จำนวน/คน เด็กกำพร้า ๓๑ เด็กยากจน ๔๑ ครอบครัวแตกแยก.
ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชดำรัส ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สำนักงานเกษตรอำเภอปลวกแดง
งานบริหารงานบุคคล กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี หน้า ๑
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
ครั้งที่ ๒/๒๕๕๖ วันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เวลา ๑๓.๓๐ น. – ๑๖.๓๐ น.
ข้อมูลร่องน้ำบ้านดอน ปากน้ำตาปี จ.สุราษฎร์ธานี
DS30M DUAL FEED GUN.
ท่าเรืออเนกประสงค์ดอนสัก (แหลมทวด)จ.สุราษฎร์ธานี
ข้อมูลเดือน ก.ค.๕๔ โดย เรือ ต.๙๕
ท่าเรือแม่น้ำท่าจีน.
ท่าเรือประจวบคีรีขันธ์
ท่าเทียบเรือประมง อ.คุระบุรี จ.พังงา
ท่าเทียบเรือศรีบ้านเพ
ท่าเทียบเรืออ่าวบังเบ้า เกาะช้าง
ท่าเรือพาณิชย์แหลมฉบัง
ท่าเทียบเรือสถานีเรือละงู เรือ ต.๒๒๐ เข้าราชการทรภ.๓ ต.ค.๕๓
ท่าเทียบเรือ ฐตร.ทรภ.๑.
ท่าเทียบเรืออ่าวสลัด ก.กูด
การสำรวจปากแม่น้ำปัตตานีท่าเทียบเรือ อบต.บานา
ท่าเรือนิคมอุสาหกรรมมาบตาพุด
ท่าเทียบเรืออ่าวตานิด เกาะหมาก
ท่าเทียบเรือเขาหมาจอ
ท่าเทียบเรือแพปลาสดใส จ.ระนอง เรือ ต.๒๑๔ ปฏิบัติราชการ ทรภ.๓
ท่าเทียบเรือเกาะเสม็ด
ร่องน้ำปราณบุรี.
ท่าเรือศุลกากร.
การจัดการความรู้ ข้อมูลเดือน มิ.ย.๕๔ โดย เรือ ต.๑๖
ท่าเทียบเรือ เกาะพยาม จ.ระนอง เรือ ต.๒๑๔ ปฏิบัติราชการ ทรภ.๓
การสำรวจร่องน้ำคลองบางนรา จ.นราธิวาส
การสำรวจบริเวณท่าเทียบเรือเอนกประสงค์ อ.เกาะพะงัน จว.สุราฦษฎร์ธานี
หลักเทียบเรือ ทรภ.๓ แหลมพันวา จ.ภูเก็ต
การสำรวจบริเวณท่าเรือซีทรานเฟอร์รี่หาดหน้าทอน เกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี
ท่าเรือ โอเชี่ยน มารีน่า
ร่องน้ำปากน้ำชุมพร เรือ ต.๘๑.
โครงการปรับปรุงระบบประปา พร้อมระบบส่งน้ำ
แนะนำวิธีการลดการใช้พลังงาน
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
๑. ภาคการศึกษาฤดูร้อน เดือน มีนาคม - พฤษภาคม ใน ๑ ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น ภาคการศึกษาที่ ๑ เดือน มิถุนายน - กันยายน ภาคการศึกษาที่ ๒ เดือน พฤศจิกายน -
รายงานผลการปฏิบัติงาน กองกำกับการ ๑ กองบังคับการตำรวจน้ำ
เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน ปีงบประมาณพ. ศ. ๒๕๕๕ โครงการงบประมา ณ โอน จัดสรร เบิกจ่าย ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนิน งาน ( ร้อย ละ ) ๑. ปรับแก้ โครงข่ายหมุด.
ฝ่ายสำรวจทำแผนที่ทางพื้นดิน ๑๑ ส่วนสำรวจทำแผนที่ภาคพื้นดิน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒ ๕ ๕ ๗.
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
โครงการออกแบบวางผังแม่บท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มหัศจรรย์แห่งท้องทะเล
ทะเลแหวก แห่งอันดามัน
นำเสนอ อาจารย์วิชัย บุญเจือ จัดทำโดย นางสาวสาวิณี เจิมขุนทด
โครงการกลุ่มจังหวัด ๕๕ มิติภาคการเกษตร
G3X Series Fixed Wireless Terminals for GSM/EDGE Networks
สำนักชั่งตวงวัด กรมการค้าภายใน
กิจกรรมเพิ่มผลผลิตสัตว์ น้ำ กลุ่มบริหารจัดการด้าน การประมง.
การเขียน.
การเร่งรัดควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี พ.ศ.2557
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่าย
 ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๗ ◦ ประชุมรายละเอียดและขอบเขตของการปฏิบัติงาน ◦ เยี่ยมชมคลังเวชภัณฑ์ยา คลังที่ ๘ ปฏิบัติงาน ตรวจสอบตู้เก็บยา  ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๗ ◦ ปฏิบัติงานตรวจสอบตู้เก็บเซรุ่ม.
“สงกรานต์ปลอดภัย ตายเป็นศูนย์” สำนักอำนวยความปลอดภัย
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
โครงการออกแบบผังแม่บท 20 ปี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เขตการศึกษาสวนดอก
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
นนทบุรี สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
โลกและสัณฐานของโลก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ท่าเทียบเรือ ฐท.พังงา.ทรภ.๓

ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ๑. วันที่สำรวจ ๑๔๐๙๐๐ ก.ค. ๕๔ โดย เรือ ต.๙๖ ๒. ลักษณะน้ำ/ลม/มาตราน้ำ/ข้างขึ้น-แรม ขณะน้ำขึ้นสูงสุดและทรงตัว ความสูงน้ำ ๒.๘ เมตร จากระดับน้ำลงต่ำสุด ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๘ ทะเลมีคลื่นเล็กน้อยถึงปานกลาง ความเร็วลม ๗-๘ น็อต

๓.ข้อมูลการนำเรือที่เกี่ยวข้อง แผนที่ที่เกี่ยวข้อง แผนที่ ๓๕๓ บ้านท้ายเหมือง ถึง ช่องปากเกาะ แผนที่ ล.๒๕ อ่าวทับละมุ ตำบลที่ ท่าเทียบเรือ ฐท.พังงา.ทรภ.๓ ทุ่นไฟปากร่อง (ทุ่นไฟ NO.2) แลต ๘ องศา ๓๕.๗ ลิปดาเหนือ ลอง ๙๘ องศา ๑๓.๙ ลิปดา ตะวันออก

หินขี้นก C-090 C-161 C-206 กระโจมไฟเขาหน้ายักษ์ หลักนำแรก หลักนำที่สอง NO.2 No.4 No.6 No.3 ระยะห่างปลายแหลมประมาณ 600 หลา C-090 C-161 C-206 ลักษณะร่องน้ำ ร่องน้ำมีความลึกเฉลี่ย ๖-๗ เมตร ความกว้างของร่องน้ำ ๓๐๐ หลา ความยาวของร่องน้ำประมาณ ๑ ไมล์ ประกอบด้วยหลักนำสองคู่ เข็มแรก ๑๖๑ เข็มต่อมา ๒๐๖

การนำเรือเข้าเทียบ/ออกจากเทียบ เมื่อนำเรือเข้ามาใกล้ปากอ่าวเขาหลักจะมองเห็นกระโจมไฟหินขี้นกซึ่งตั้งอยู่บนหินขี้นกและทุ่นไฟกำกับร่อง ( ทุ่นแดงหมายเลข ๒) ได้อย่างชัดเจน ให้นำเรือถือเข็มประมาณ ๐๙๐ ผ่านปลายแหลมอ่าวขาม(ปลายแหลมกระโจมไฟเขาหน้ายักษ์ )ทางด้านทิศเหนือในระยะห่างประมาณ ๖๐๐ หลา โดยใช้ทุ่นไฟกำกับร่อง ( ทุ่นแดงหมายเลข ๒)เป็น HEAD MARK เมื่อเห็นหลักนำคู่แรกให้เปลี่ยนเข็มเรือเข้าหาหลักนำคู่แรก เมื่อนำเรือผ่านทุ่นแดงหมายเลข ๔ และทุ่นเขียวหมายเลข ๓ ใ ห้เปลี่ยนเข็มเรือเข้าหาหลักนำคู่ที่สอง และเมื่อนำเรือผ่านทุ่นแดงหมายเลข ๖ สามารถเปลี่ยนเข็มเพื่อนำเรือเข้าจอดที่ท่าเทียบเรือ ฐท.พง.ทรภ.๓ สำหรับเรือ ตกช. และ ตกฝ. ให้เทียบบริเวณด้านในของท่าตามรูปโดยอ้อมทุ่นแดงปลายเขื่อน ในการ เข้าเทียบขณะมีกระแสน้ำขึ้น-น้ำลง ควรสังเกตุกระแสน้ำและนำเรือในลักษณะทวนกระแสน้ำ

หินขี้นก

กระโจมไฟ เขาหน้ายักษ์

ทุ่นไฟเก่า ทุ่นไฟใหม่

หลักนำคู่แรกเข็ม ๑๖๑

หลักนำคู่ที่สองเข็ม ๒๐๖

ลักษณะท่าเรือ โครงสร้างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กรูปตัว L ทางเข้า กว้าง ๑๐ ม. ยาว ๑๗๘ ม. บริเวณหน้าท่า ยาว ๒๐๐ ม. กว้าง ๑๕ ม. พื้นท้องทะเล ดินเหนียวปนทราย

การนำเรือเข้าเทียบ/ออกจากเทียบ เมื่อนำเรือเข้ามาใกล้ปากอ่าวเขาหลักจะมองเห็นกระโจมไฟหินขี้นกซึ่งตั้งอยู่บนหินขี้นกและทุ่นไฟกำกับร่อง ( ทุ่นแดงหมายเลข ๒) ได้อย่างชัดเจน ให้นำเรือถือเข็มประมาณ ๐๙๐ ผ่านปลายแหลมอ่าวขาม(ปลายแหลมกระโจมไฟเขาหน้ายักษ์ )ทางด้านทิศเหนือในระยะห่างประมาณ ๖๐๐ หลา โดยใช้ทุ่นไฟกำกับร่อง ( ทุ่นแดงหมายเลข ๒)เป็น HEAD MARK เมื่อเห็นหลักนำคู่แรกให้เปลี่ยนเข็มเรือเข้าหาหลักนำคู่แรก เมื่อนำเรือผ่านทุ่นแดงหมายเลข ๔ และทุ่นเขียวหมายเลข ๓ ให้เปลี่ยนเข็มเรือเข้าหาหลักนำคู่ที่สอง และเมื่อนำเรือผ่านทุ่นแดงหมายเลข ๖ สามารถเปลี่ยนเข็มเพื่อนำเรือเข้าจอดที่ท่าเทียบเรือ ฐท.พง.ทรภ.๓ สำหรับเรือ ตกช. และ ตกฝ. ให้เทียบบริเวณด้านในของท่าตามรูปโดยอ้อมทุ่นแดงปลายเขื่อน ในการเข้าเทียบขณะมีกระแสน้ำขึ้น-น้ำลง ควรสังเกตุกระแสน้ำและนำเรือในลักษณะทวนกระแสน้ำ

ข้อระมัดระวัง สิ่งปลูกสร้างบริเวณปลายเขื่อน ข้อควรระมัดระวัง ๑.ไม่ควรนำเรือเข้าใกล้ปลายแหลมเขาหน้ายักษ์เนื่องจากมีแนวหินใต้น้ำอยู่ สามารถเห็นได้ชัดเจนในเวลาที่น้ำลงต่ำสุด ๒.ให้ระวังสิ่งปลูกสร้างท้ายทุ่นแดงปลายเขื่อนทำให้ทางเข้าไปเทียบแคบ และให้ระวังเวลาเทียบในตอนที่น้ำลงเพราะอาจติดตื้นไม่ควรนำเรือให้ออกห่างจากท่าเรือมากเกินไป ๓.กระแสน้ำในช่วงน้ำลงต่ำค่อนข้างแรง ควรใช้เครื่องจักรถอยหลังในการนำเรือเข้าเทียบ สิ่งปลูกสร้างบริเวณปลายเขื่อน

ข้อควรระมัดระวัง ๑.ไม่ควรนำเรือเข้าใกล้ปลายแหลมเขาหน้ายักษ์เนื่องจากมีแนวหินใต้น้ำอยู่ สามารถเห็นได้ชัดเจนในเวลาที่น้ำลงต่ำสุด ๒.ให้ระวังสิ่งปลูกสร้างท้ายทุ่นแดงปลายเขื่อนทำให้ทางเข้าไปเทียบแคบ และให้ระวังเวลาเทียบในตอนที่น้ำลงเพราะอาจติดตื้นไม่ควรนำเรือให้ออกห่างจากท่าเรือมากเกินไป ๓.กระแสน้ำในช่วงน้ำลงต่ำค่อนข้างแรง ควรใช้เครื่องจักรถอยหลังในการนำเรือเข้าเทียบ

๔. การติดต่อสื่อสาร ศูนย์สื่อสาร ฐท.พง.ทรภ.๓ ธุรการ VHF CH.๖๗

๕.สิ่งอำนวยความสะดวก ระบบไฟฟ้า - เครื่องแปลงความถี่ ขนาด ๑,๐๐๐ KVA. ๔๐๐ VAC ๓ PHASE ๓ WIRE ๖๐ HZ ๑ ชุด - เครื่องแปลงความถี่ ขนาด ๕๐๐ KVA. ๔๐๐ VAC ๒ PHASE ๓ WIRE ๖๐ HZ ๑ ชุด - หม้อแปลงไฟฟ้า ขนาด ๑,๒๕๐ KVA. ๑ ชุด - หม้อแปลงไฟฟ้า ขนาด ๑๐๐ KVA. ๒ ชุด - SYNCHRONIZING CONTROL CABINET - ตู้ควบคุมการจ่ายไฟ ( SHORE DISTRIBUTION BORD ) ๑ ตู้ - ติดตั้งตู้ระบบไฟฟ้า ๓๘๐ V. ๕๐ Hz โดยเพิ่ม TRANSFER SWITCHBOARD สำหรับจ่ายไฟให้กับเรือชุด ร.ล.เจ้าพระยา ๑ ชุด - ติดตั้งเครื่องแปลงความถี่ ออโตเมติก ขนาด ๑,๐๐๐ KVA. ๔๖๐ VAC ๓ PHASE ๓ WIRE ๖๐ HZ พร้อมชุดควบคุมและอุปกรณ์ประกอบในโรงคลุม - ติดตั้งหม้อแปลงชนิดตั้งพื้น ขนาด ๑,๖๐๐ KVA. ๔๖๐ ๓๓ KV. ๔๐๐ /๒๓๐ VAC ๓ PHASE ๔ WIRE ๕๐ HZ

ระบบประปา - วางท่อประปาชนิด GALYANIZED STEEL PIPES (GSP) ขนาด ๖ นิ้ว และ ๔ นิ้ว - ติดหัวจ่ายแบบเกลียวนอกพร้อมอุปกรณ์ประกอบด้วย GATE VALVE PRESSURE REDUCING VALVE BALL BALVE METER C – CLAMP และ STEEL SUPPORT จำนวน ๗ ชุด โดย ฐานทัพเรือพังงา สามารถผลิตน้ำประปาเพื่อสนับสนุนให้หน่วยและเรือ ต่าง ๆ ที่จอดบริเวณท่าเทียบเรือ ฯ ได้เอง

น้ำมันเชื้อเพลิง - คลังเรือ น้ำมันดีเซลหมุนเร็ว จำนวน ๖ ถัง ๆ ละ ๖๐,๐๐๐ ลิตร สำหรับสนับสนุนให้กับเรือ - ท่อทางส่งน้ำมันเชื้อเพลิง ขนาด ๓ นิ้ว จำนวน ๒ ชุด และ ขนาด ๔ นิ้ว จำนวน ๒ ชุด - หัวจ่าย ขนาด ๑ ๑/๒ นิ้ว ในอัตรา ๑๒,๐๐๐ ลิตร/ชม.