กลุ่ม 2 กำหนดมาตรฐานยา รพ.ทบ..

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเสนอขออนุมัติโครงการ
Advertisements

ลำดับขั้นตอนการเสนอของบประมาณ (เดิม)
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
ต้นทุนค่ายา วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
ประเภทโครงการ Cross Function/Lean เครือข่ายวิชาชีพ ทีมบริหารสินค้าต่างประเทศ ทีมบัญชีเจ้าหนี้ต่างประเทศ ทีมขายสาขา ม.นเรศวร ทีมขายสาขา มทส.
การจัดซื้อ – จัดจ้าง และสรรหาผู้รับจ้าง
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
สถานการณ์ด้านการเงินการคลังจังหวัดกระบี่
จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
การรับและนำส่งเงินรายรับค่ารักษาพยาบาล
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
รายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับใบขอซื้อขอจ้าง
งานพัสดุ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
เรียน ท่านสมาชิก สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดเชียงราย จำกัด
สรุปผลการดำเนินงานบริหารเวชภัณฑ์ (ตามรายงาน ADMIN)
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
1. กลุ่มเป้าหมาย แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่เวช สถิติจากทุกโรงพยาบาล 2. วิธีการพัฒนา เน้นการลงมือปฏิบัติการตรวจสอบ จากแฟ้มผู้ป่วยในจริง โดยเน้น รพ. ชะอำ.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การปรับปรุงอัตรากรมแพทย์ทหารเรือ
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
งานบริหารเวชภัณฑ์.
จังหวัดนครปฐม.
สรุปการประชุม เขต 10.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
ระบบประกันสังคม มี 2 กองทุน.....
การบริหารเวชภัณฑ์.
สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
การเขียนใบสำคัญเบิกเงินสด
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
การประเมินการใช้ยา ( Drug Use Evaluation,DUE )
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
Point of care management Blood glucose meter
การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3.
การลดต้นทุนวัสดุการแพทย์ ทางห้องปฏิบัติการจังหวัดเลย
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ของส่วนราชการและหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
อบรมคณะกรรมการ ตสน. ระดับกลุ่มเครือข่าย
การประชุม พิจารณาแผนจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ ที่มิใช่ยาฯ ปี 2557 ห้องประชุมศูนย์ปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค 24 กันยายน
ของส่วนราชการและหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
กรณีตัวอย่างการจัดซื้อจัดจ้าง
สรุปประเด็นข้อตรวจพบ
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
 เพื่อเป็นการธำรงคุณภาพของงานด้านเภสัชกรรม ตามที่มีการวางระบบไว้และเป็นโอกาสพัฒนางาน ด้านเภสัชกรรมด้านต่างๆสำหรับเภสัชกรที่ หมุนเวียนมารับหน้าที่
การตรวจสภาพถนนไร้ฝุ่น ก่อนคืนค้ำประกันสัญญา
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
สัดส่วนวิชาชีพต่อสายสนับสนุน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่ม 2 กำหนดมาตรฐานยา รพ.ทบ.

ปัจจุบันรพ.ท่านได้ให้ผู้มีส่วนร่วมเกี่ยวข้องกับการใช้ยาและเวชภัณฑ์ มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการด้านยาอย่างไร มีการจัดตั้งคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดซึ่งประกอบด้วยทีมสหสาขาวิชาชีพในการดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารจัดการด้านยา

ร.พ.ของท่านมีคณะกรรมการรับผิดชอบหรือไม่ ถ้ามี มีภารกิจอะไรบ้าง ร.พ.ของท่านมีคณะกรรมการรับผิดชอบหรือไม่ ถ้ามี มีภารกิจอะไรบ้าง มี และมีการประชุมคร่อมสายงานกับทีมต่างๆในโรงพยาบาล ภารกิจ คือ พิจารณาและคัดเลือกรายการยาในบัญชียาโรงพยาบาล กำหนดและวางแผนงบประมาณในการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์อย่างคร่าวๆ (ยังไม่ระบุรายการ item ) กำหนดนโยบายการใช้ยาของโรงพยาบาล

เพื่อให้มีแผนจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ของหน่วยที่ชัดเจนท่านคิดว่าควรให้มีการดำเนินการอย่างไร มีการวางแผนการจัดซื้อยาเป็นรายการยาโดยอ้างอิงจากยอดการใช้จริงและจำนวนยาคงคลัง โดยแผนการจัดซื้อดังกล่าวจัดทำและตัดสินใจร่วมกันโดยทีม PTC

เพื่อให้การขออนุมัติซื้อมีข้อมูลประกอบการพิจารณาครบ ควรเสนอข้อมูลอะไรบ้าง อัตราการใช้ยา อ้างอิงราคากลาง

บัญชีรายการของรพ.มีจำนวนเท่าใด เหมาะสม? ควรมีเท่าไร บัญชีรายการของรพ.มีจำนวนเท่าใด เหมาะสม? ควรมีเท่าไร รพ. 30 เตียง มี 200 รายการ รพ. 60 เตียง มี 400 รายการ ความเหมาะสม ควรพิจารณาจากบริบทของรพ. เช่น จำนวนคนไข้ จำนวนแพทย์เฉพาะทาง มากกว่าที่จะพิจารณาจากจำนวนเตียง

สัดส่วนรายการยา ED-NED / ความเหมาะสม

เพื่อควบคุมอัตราการเพิ่มของรายการยา ควรมีมาตรการใด ทีม PTC มีความเป็นเอกภาพ มีความสามารถในการสั่งการ ควบคุมให้เป็นไปตาม อจย. มีการกำหนดช่วงเวลาพิจารณายาเข้าที่ชัดเจน จำนวนยาเข้า = จำนวนยาออก กรมแพทย์ และ area command มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย และแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน

การกำจัดจำนวนรายการยาที่มีชื่อสามัญเดียวกัน ฤทธิ์ใกล้เคียงกัน ควรมีวิธีการใด ยาที่มีกลไกการออกฤทธิ์ใกล้เคียงกัน มีได้ไม่เกิน 2 รายการ

เพื่อให้มีการจัดหาเวชภัณฑ์ร่วมกัน หรือต่อรองราคาร่วมกันของรพ เพื่อให้มีการจัดหาเวชภัณฑ์ร่วมกัน หรือต่อรองราคาร่วมกันของรพ.ในกองทัพบกทุกระดับ ควรมีวิธีจัดการอย่างไร จัดทำบัญชียาของโรงพยาบาลร่วมกันในโรงพยาบาลแต่ละระดับ ยาในบัญชียาหลักที่เป็นยาพื้นฐาน สามารถซื้อร่วมกันได้

การประกันคุณภาพยาที่จัดซื้อจัดหา ควรทำอย่างไร พิจารณายาที่มี aprove indication เท่านั้น และควรมีการใช้ในโรงเรียนแพทย์มาก่อน มีเอกสารประกันคุณภาพยาที่เป็น evidence-base เช่น ใบรับรองจากกรมวิทย์ มีการสุ่มตรวจคุณภาพยา

เพื่อลดการสำรองและการกระจายยา มีข้อเสนอแนะอย่างไร ลดการสำรองยาในคลังเวชภัณฑ์ไม่เกิน 3 เดือน

เพื่อลดการสำรองยาและยาค้างในหอผู้ป่วย ควรทำอย่างไร จัดทำ one day dose ไม่ stock ยา ยกเว้นรายการยาฉุกเฉิน หอผู้ป่วยคืนยาวันต่อวัน

เพื่อให้มีการสั่งใช้ยาที่สมเหตุสมผล และลดการใช้ยาราคาแพง เกินความจำเป็น ควรมีมาตรการอย่างไร จัดทำ DUE ใช้ยาตาม Clinical practice guildline กำหนดวงเงินใบสั่งยาตามกลุ่มโรค Audit เวชระเบียนโดยทีม PTC