ทีมนิเทศงานจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
สถานีอนามัยดงขุมข้าว ตำบล พังขว้าง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร โดย นางสาวพัชราวลี สายบัว นางสาวนิตยา บุญศรี นางสาวพาฝัน ชายคำ นางสาวกรวิกา.
สถานีอนามัยบ้านพอกน้อยพัฒนา ตำบลพอกน้อย อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร
อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
สถานีอนามัยบ้านโนนหอม
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสามง่าม
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
โครงการกรมการแพทย์ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ แบบเบ็ดเสร็จ ปี 2551
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
จากสำนักงานนโยบายและแผน
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่ตืน
บทเรียนการดำเนินการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ แบบครบวงจร
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10.
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
ยินดีต้อนรับ คณะประเมินคุณภาพ เครือข่ายทันตกรรม ทุก ท่าน.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
สกลนครโมเดล.
รายงานสอบสวนโรคอุจจาระร่วง
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทีมนิเทศงานจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ยินดีต้อนรับ ทีมนิเทศงานจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ด้วยความยินดียิ่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกกปลาซิว

กกปลาซิวดินแดนแห่งความฝัน สวรรค์บนหุบเขา ตำนานเล่าเสรีไทย แหล่งศิลป์ใหญ่ภูผายล น้ำตกสวยล้นคำโสกา ถิ่นเสน่หากะเลิงย้อ

แผนที่หมู่บ้านรับผิดชอบ บ้านกกโด่ ม.4 บ้านนาผาง ม.5 บ้านนาขี้นาค ม.2 บ้านนาเจริญ ม.7 บ้านกกปลาซิว ม.1 บ้านโพนแพง ม.6 บ้านโพน ม.8 รพ.สต.กกปลาซิว บ้านหนองครอง ม.3

ทำเนียบบุคลากร นางจิตลัดดา พาพรมฤทธิ์ ผอ.รพ.บ้านกกปลาซิว นางจิตลัดดา พาพรมฤทธิ์ ผอ.รพ.บ้านกกปลาซิว น.ส.ปิยนุช ชูรัตน์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ น.ส.ลีลวัฒน์ กองศูนย์พยาบาลวิชาชีพ นายสมัคร พลราช พนักงานขับรถยนต์ นางวิราช พลราชม พสอ.

วิสัยทัศน์ รพ.สต.กกปลาซิว (VISION) สถานบริการมีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ด้านการบริหาร บริการ และวิชาการ บริการแบบผสมผสาน เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน พันธกิจ (MISSION) พัฒนาบุคลากรให้มีคุณภาพ ด้านบริหาร บริการและวิชาการ พัฒนาสถานบริการให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน น่าอยู่ น่าทำงาน พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและระบบรายงานถูกต้อง ทันเวลา พัฒนาระบบบริหารงานให้มีความโปร่งใส โดยยึดหลักธรรมาภิบาล ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน กลุ่มเครือข่ายต่างๆ

ที่มา : ฐานข้อมูล JHCIS ณ 31 พ.ค.55 ข้อมูลทั่วไป แบ่งออก 9 หมู่บ้าน จำนวนหลังคาเรือน 1,088 หลังคาเรือน ประชากรทั้งหมด 4,015 คน ชาย 2,035 คน หญิง 1,980 คน จำนวน อสม. 82 คน โรงเรียนประถมศึกษา 2 แห่ง ผ่านระดับทอง 2 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1 แห่ง ผ่านประเมิน ศพด.ปลอดโรค 1 แห่ง องค์การบริหารส่วนตำบล 1 แห่ง ศาสนสถาน 14 แห่ง วัดส่งเสริมสุขภาพ 1 แห่ง ที่มา : ฐานข้อมูล JHCIS ณ 31 พ.ค.55

สัดส่วนเจ้าหน้าที่ต่อจำนวนประชากร สัดส่วนเจ้าหน้าที่เทียบกับจำนวนประชากร ตำแหน่ง สัดส่วนเจ้าหน้าที่ต่อจำนวนประชากร จำนวนบุคคลากร เกณฑ์มาตรฐาน คิดเป็นสัดส่วน บุคลากรสายสุขภาพ นักวิชาการสาธารณสุข 2 1 : 1250 1 : 2007.5 พยาบาลวิชาชีพ 1 1 : 5000 1 : 4015 รวม 3 1: 1250 1 : 1338 บุคลากรอื่นๆ พนักงานผู้ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่สถานีอนามัย - พนักงานขับรถยนต์ราชการ

สถานการณ์การเงินโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกกปลาซิว อำเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร (ข้อมูล ณ 31 พฤษภาคม 2555) เงินคงเหลือ (เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด) มูลค่าคงคลัง หนี้สิน (ไม่รวมรายได้รับล่วงหน้ากองทุน UC) หมายเหตุ 290,456 26,526.95 99,020.71

โรคของผู้ป่วยนอกที่มีความสำคัญ 5อันดับแรก (1 ต.ค. 2554 – 30 มิ.ย 2555)

โรคของผู้ป่วยที่ต้องเฝ้าระวัง 3 อันดับแรก โรคของผู้ป่วยที่ต้องเฝ้าระวัง 3 อันดับแรก (1 ต.ค. 2554 – 30 มิ.ย. 2555)

ตามคำรับรองปฏิบัติราชการจังหวัดสกลนคร ผลการดำเนินการ ตามคำรับรองปฏิบัติราชการจังหวัดสกลนคร ปีงบประมาณ 2555

ผลการปฏิบัติราชการตามตัวชี้วัดคำรับรองปฏิบัติราชการ ปี 2554 ตัวชี้วัดตามคำรับรองปฏิบัติราชการ ปี 2555 ของ รพ.สต.บ้านกกปลาซิว มีทั้งหมด 15 ข้อ ผ่านเกณฑ์ทั้งหมด 15 ข้อ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกกปลาซิว

ผลการดำเนินการตามคำรับรองปฏิบัติราชการ จังหวัดสกลนคร ปีงบประมาณ 2555 งานอำเภอท้าทาย ทั้ง 5 ชุดกิจกรรม (ที่มีการดำเนินงานใน รพ.สต.)

ชุดกิจกรรมสุขภาพดีวิถีไทย สู่ตำบลจัดการสุขภาพ ชุดกิจกรรมสุขภาพดีวิถีไทย สู่ตำบลจัดการสุขภาพ ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์ได้แก่ 1.ตัวชี้วัดหมู่บ้านจัดการสุขภาพดี ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์ข้อ 8 อัตราการปฏิบัติการของโรคเรื้อรังสำคัญไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน 8.1 ผู้ป่วยเบาหวานน้อยกว่าร้อยละ 5 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ12.50 ปัญหาและอุปสรรค เนื่องจากตอนที่รณรงค์ออกคัดกรองตามหมู่บ้าน เป็นช่วงฤดูเก็บเกี่ยว ทำให้ประชากรในพื้นที่ไม่ค่อย ให้ความร่วมมือมาคัดกรองเบาหวาน แนวทางแก้ไข รณรงค์และพยายามให้สุขศึกษาเพื่อสร้างความตระหนักถึงอันตรายของโรคเรื้อรังที่ควรหาให้พบ และป้องกันกลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น

ชุดกิจกรรมสุขภาพดีวิถีไทย สู่ตำบลจัดการสุขภาพ(ต่อ) ชุดกิจกรรมสุขภาพดีวิถีไทย สู่ตำบลจัดการสุขภาพ(ต่อ) 8.2 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ น้อยกว่าร้อยละ 5 ผลงานไม่ผ่าน เกณฑ์ ร้อยละ12.50 ปัญหาอุปสรรค - ไม่มี แนวทางแก้ไข หากลุ่มเสี่ยงผู้ที่มีแนวโน้มที่จะเป็นโรคความดันโลหิตสูง เข้าค่าย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อจะได้ป้องกันก่อนเกิดโรคความดันโลหิตสูงที่จะ เกิดขึ้น

ชุดกิจกรรมเมืองน่าอยู่ ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ได้แก่ คัวชี้วัดที่ 21 ร้อยละของ อบต. ผ่านเกณฑ์ด้านกระบวนเมืองน่าอยู่ด้านสุขภาพ 5 ด้าน ผลงาน ร้อยละ 0 ปัญหาและอุปสรรค ขาดผู้รับผิดชอบหลักในการประสานงานกระบวนการเมืองน่าอยู่ แนวทางแก้ไข มอบหมายงานผู้รับผิดชอบหลักและประสานงานกับ อบต.เพื่อดำเนินงานให้ผ่าน เกณฑ์และกำลังเข้าสู้แผนพัฒนาต่อไป

ชุดกิจกรรมเมืองน่าอยู่ (ต่อ) ตัวชี้วัดที่ 23 ร้อยละ60ของ อบต. ผ่านเกณฑ์การประเมินรับรอง สถานที่ทำงาน น่าอยู่ น่าทำงานระดับดี/ดีมาก ผลงานร้อยละ 0 ปัญหาและอุปสรรค ผลงานที่ไม่ผ่านเกณฑ์เนื่องจากมีปัญหาด้านโครงสร้างของหน่วยงาน ซึ่งอบต.ได้บรรจุเข้าไว้ในแผนพัฒนาต่อไป แนวทางแก้ไข อบต.ได้เข้าแผนพัฒนาด้านโครงสร้างของหน่วยงานไว้แล้ว

ชุดกิจกรรมเมืองน่าอยู่ (ต่อ) ตัวชี้วัดที่ 24 ร้อยละ 70 ของ อบต. มีส้วมสาธารณะมาตรฐาน HAS ผลงานร้อยละ 0 ปัญหาและอุปสรรค ในช่วงที่ผ่านมาสำนักงานของอบต.อยู่ในช่วงระหว่างดำเนินการก่อสร้างอาคารซึ่งไม่ได้รวม กับการสร้าง ส้วมสาธารณะ แนวทางแก้ไข ได้บรรจุเข้าในแผนพัฒนาเรียบร้อยแล้ว ตัวชี้วัดที่ 41 มีวัดส่งเสริมสุขภาพ ระดับพื้นฐาน อย่างน้อย 1 วัด ต่อตำบล ผลงาน ร้อยละ 0 ปัญหาอุปสรรค งบประมาณไม่เพียงพอ ในการดำเนินงานวัดส่งเสริมสุขภาพในระดับตำบล ต้องมีการบรรจุกิจกรรมการดำเนินงานในวัดส่งเสริมสุขภาพ เข้าแผนงานของชุดกิจกรรม อำเภอท้าทายเมืองน่าอยู่ เพื่อให้ครอบคลุมทุกวัด

ชุดกิจกรรมสายใยรักแห่งครอบครัว ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ตัวชี้วัดที่ 5 มีศูนย์เด็กเล็กผ่านการประเมินศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ ระดับดีมาก ของกรมอนามัยไม่ น้อยกว่าร้อยละ 50 ผลงานร้อยละ 0 ปัญหาอุปสรรค เนื่องจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกกปลาซิว ยังขาดงบประมาณในการดำเนินการ ต้องเข้า แผนพัฒนาในปีต่อไป แนวทางแก้ไข ประสานงานกับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และดำเนินการเข้าแผนไว้ในปีต่อไป

ชุดกิจกรรมพัฒนาระบบปฐมภูมิ ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ได้แก่ ตัวชี้วัดที่ 1 ผลการพัฒนาคุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) ผลงานร้อยละ 60 ปัญหาอุปสรรค เนื่องจากไม่มีแพทย์ออกให้บริการใน รพ.สต. และรพ.ไม่มีนวัตกรรม แนวทางแก้ไข ด้านการขาดแคลนแพทย์ : แก้ไขปัญหาโดย รพ.สต.มีพยาบาลเวชปฏิบัติในการ ดูแลผู้ป่วย/ตรวจรักษา แทนแพทย์ ด้านนวัตกรรม : มีการดำเนินการประสานงานและเขียนโครงการเสนอ เข้า แผนพัฒนา อบต.ไว้ เรียบร้อยแล้ว

ชุดกิจกรรมพัฒนาระบบปฐมภูมิ (ต่อ) ตัวชี้วัดที่ 6 ระดับความสำเร็จของการให้บริการการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพรในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ ผลงานร้อยละ 60 ปัญหาอุปสรรค มีการใช้ยาสมุนไพรในการให้บริการ แต่ในด้านบุคลากรผ่านการอบรม นวดแผนไทย แต่ด้วยภาระงานที่หนักทำให้ไม่สามารถให้บริการได้และคน ที่มาใช้บริการยังไม่มี แนวทางแก้ไขปัญหา จัดสรรบุคลากรเพิ่มเติมในการปฏิบัติงานให้ครอบคลุมภาระงาน

โครงการตามแผนการตรวจราชการแบบบรูณาการจำนวน 3โครงการ

โครงการป้องกันยาเสพติดและแก้ปัญหายาเสพติด มีการดำเนอนงานร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลกกปลาซิว มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน หลักสูตร อบรมฟื้นฟูบำบัดผู้เสพ จำนวน 9 คืน 10 วัน ณ ค่ายฝึกการรบ พิเศษน้ำพุง

โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น มีกลุ่มเป้าหมายอายุต่ำกว่า 19 ปี จำนวน 3 คน จากการสำราจพบว่ามี่ความพร้อมในการตั้งครรภ์ คือ ผู้ปกครองให้การสบับสนุน ยินยอม ในการมีคู่ครอง และมีความ พร้อมในการมีบุตร

โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กปฐมวัย มีการดำเนินโครงการในระดับ CUP

ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ / ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน ลำดับ ปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหาในพื้นที่เบื้องต้น ความต้องการการสนับสนุนจากจังหวัด / ส่วนกลาง 1 ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่  ประชาชน ส่วนใหญ่มีฐานะยากจน สนใจการทำมาหากินมากกว่าการดูแลสุขภาพ  การมีส่วนร่วมของประชาชนทั่วไปในกิจกรรมสาธารณสุขยังมีน้อย ส่วนมากมักเป็นประชาชนกลุ่มเดียวซ้ำๆ เช่น อสม. ผู้นำชุมชน หรือกลุ่มคนไข้โรคเรื้อรัง ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญ ( โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ) มีอุบัติการณ์สูงเกินเกณฑ์ - หาวิธีการที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและการดำรงชีวิตตามปกติของประชาชนมาดำเนินการป้องกัน แก้ไขปัญหาสุขภาพประชาชนในพื้นที่ - สนับสนุนงานวิจัยในพื้นที่เพื่อหาสาเหตุ ปัจจัย การกระจาย แนวโน้มการเกิดโรคในพื้นที่ - ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จากทุกภาคส่วนเพื่อจัดทำโครงการแก้ไขปัญหา - เตรียมแผนรองรับการจัดบริการให้ได้คุณภาพ ตามเกณฑ์หน่วยบริการปฐมภูมิในทุกด้าน - ประสานภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องร่วมดำเนินการแบบบูรณาการ - คำแนะนำ / กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - งบประมาณ - วิชาการ

แนวทางแก้ไขปัญหาในพื้นที่เบื้องต้น ลำดับ ปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหาในพื้นที่เบื้องต้น ความต้องการการสนับสนุนจากจังหวัด / ส่วนกลาง 2. ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ (ต่อ) พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่ในพื้นที่ไม่เหมาะสม เช่น พฤติกรรมการออกกำลังกาย พฤติกรรมการกิน การนอน ฯ ทำให้ป่วยเป็นโรคที่เกิดจากพฤติกรรม อาทิ โรคพยาธิต่างๆ ,โรคอุจจาระร่วง , โรคผิวหนัง , โรคอ้วน ฯลฯ โรคประจำถิ่น เช่น โรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรีย - ให้สุขศึกษาทุกรูปแบบ - รณรงค์เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - จัดค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการจาก CUP c]t อบต.กกปลาซิว - จัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันและควบคุมโรคทุกระยะ ( ช่วงก่อนเกิดโรค ช่วงที่มีการระบาด และหลังเกิดโรค) - ประสานภาคีเครือข่ายร่วมดำเนินงาน และระดมทรัพยากรจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น CUP , อปท. , สคร. , สสจ. ฯ คำแนะนำ / กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - วิชาการ - งบประมาณ

แนวทางแก้ไขปัญหาในพื้นที่เบื้องต้น ลำดับ ปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหาในพื้นที่เบื้องต้น ความต้องการการสนับสนุนจากจังหวัด / ส่วนกลาง 1. ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน (ต่อ) อำเภอและจังหวัดเชิญประชุมบ่อยเกินไป ไม่มีการบูรณาการงานเท่าที่ควร บางครั้งเนื้อหาน้อย งานไม่ด่วนมาก และเป็นงานในกลุ่มงานหรือฝ่ายเดียวกันแต่เชิญประชุมคนละวัน - อำเภอและจังหวัดควรบูรณาการงาน และเชิญประชุมให้น้อยลงเพื่อให้เจ้าหน้าที่จะได้มีเวลาทำงานในพื้นที่มากขึ้น - ควรมีการบูรณาการงานร่วมกันภายในหน่วยงาน เพื่อให้มีเวลาในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่

การดูแลผู้ป่วยที่บ้าน ผลงานเด่น การดูแลผู้ป่วยที่บ้าน

การออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยที่มีปัญหาช่วยเหลือตนเองไม่ได้

ปัญหาของผู้ป่วย I-ผู้ป่วยเป็นอัมพาตไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ N- ผู้ป่วยต้องรับประทานอาหารทางสายยาง ญาติจะนำข้าวผัก เนื้อสัตว์มาต้มและบดเก็บไว้แช่ ในตู้เย็น เมือถึงเวลาก็จะนำมาอุ่นให้รับประทาน H-สภาพบ้านเป็นแบบบ้าน2 ชั้น ชั้นล่างเป็นปูน ชั้นบนเป็นไม้ ผู้ป่วยอาศัยอยู่ในแคร่ชั้นล่าง บ้านค่อนข้างรก O สมาชิกในครอบครัวนั้นเป็นแบบครอบครัวใหญ่ผู้ป่วยอาศัยอยู่กลับสามี และลูกชายและ ลูกสะใภ้มีหลาน 1 คนอายุ 1กว่า คนตัดสินใจในบ้านส่วนใหญ่จะเป็นลูกสะใภ้ มีความขัดแย้ง กลับป้า M- ผู้ไม่ได้รับยาทานอะไร S-ความปลอดภัยในบ้านผู้ป่วยนอน มักจะมีญาติเฝ้าและดูแลตลอด S- นับถือศาสนาพุทธ S- คนในครอบครัวจะมารับบริการที่ รพ.สต.กกปลาซิวเป็นประจำ และมีเจ้าหน้าออกไปดูแล ทำแผลและให้คำแนะนำ

การออกเยี่ยมบ้านผู้พิการ การออกเยี่ยมบ้านผู้พิการ

ปัญหาตามIn-HOME-SSS I – ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองไม่ได้ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำเองได้ N- อาหารที่รับประทาน จะเป็นอาหารเหลวรับประทานทางสายยาง H-ลักษณะบ้านเป็นแบบ 2 ชั้น ชั้นล่างเป็นปูน ชั้นบนบนเป็นไม้ ภายในบ้านสะอาดสะอาดของวางเป็นระเบียบเรียบร้อยดี เตียงที่ผู้ป่วยใช้นอนเป็นเตียงโรงพยาบาล ยกไม้กลั้นเตียงตลอดเวลา o-ความสัมพันธ์ภายในบ้าน ผู้ป่วยแต่งงานหลังจากประสบอุบัติเหตุก็มาอาศัย อยู่กับแม่ พ่อเลี้ยง และน้องสาว สัมพันธภาพดี ภรรยา แยกกันอยู่มาเยี่ยมเป็น บางครั้ง

M- ผู้ป่วยจะทานยา ที่รับมาจากโรงพยาบาลสกลนครทุกเดือน เป็น ยา บำรุง ประสาท และยาคลายกล้ามเนื้อ E-ไม่สามารภทำกิจวัตรประจำวันได้เลย S-บ้านผู้ป่วยจัดสภาพคล้ายเป็น หอผู้ป่วยในโรงพยาบาล มีเครื่องดูดเสมหะ S-ญาติมีความหวังว่าผู้ป่วยจะหายสามารถใช้ชีวิตประจำวันเป็นปกติ S-มีแม่คอยดูแลอย่างใกล้ชิด และมีเจ้าหน้าที่รพ.สต.คอยแนะนำ ร่วมกับ อสม ดูแลคอยทำกายภาพฟื้นฟูที่บ้านผู้ป่วย

ขอบคุณค่ะ 36 36