กรณีศึกษา : โรงเรียนบ้านสันขี้เบ้า การพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบด้วยกระบวนการทบทวนหลังกิจกรรม (After Action Reviews) สำหรับกลุ่มโรงเรียนขยายโอกาสขนาดเล็ก กรณีศึกษา : โรงเรียนบ้านสันขี้เบ้า โดยความร่วมมือจากชุมชนและมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ที่มาและความสำคัญของปัญหา โรงเรียนบ้านสันขี้เบ้าเป็นโรงเรียนขยายโอกาสขนาดเล็ก โดยมีนักเรียนจำนวน 149 คน ครูจำนวน 11 คน ตั้งอยู่ในแหล่งเรียนรู้ และวัฒนธรรมที่หลากหลาย โรงเรียนล้อมรอบด้วยทุ่งนาและธรรมชาติ ครูมีภาระงานจากหน่วยเหนือมาก การทำงานไม่เป็นระบบ ทำงานซ้ำซ้อนกันทำให้มีภาระงานเพิ่มขึ้น ขาดระบบการบริหารจัดการที่ดี เวลาในการเตรียมการสอนลดลงส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ครูไม่มีโอกาสได้พูดคุยกัน
รูปภาพของโรงเรียนบ้านสันขี้เบ้า
รูปภาพของโรงเรียนบ้านสันขี้เบ้า
สภาพที่เอื้ออำนวยต่อการใช้ AAR ระบบการบริหารงานประกอบด้วย ผู้อำนวยการ ครูผู้สอน ภารโรง
รูปแบบการใช้ AAR Situation Analysis Action plan Do 4 steps AAR Plan Prepare Conduct Follow up CHECK Best Practice
วงจรย่อยของการทำ AAR ตลอดภาคเรียน plan prepare conduct Follow up
4 step AAR Plan วางแผน Prepare ตระเตรียมการ Conduct ดำเนินการ Following up (using the AAR results) นำผลที่ได้ไปปฏิบัติ