โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
Advertisements

ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
ม. ค.57 เปรียบเทียบ ม. ค.56 ปี 56 เกิด 3 จับ 3 ราย (100.00%) ปี 57 เกิด 3 จับ 2 ราย ( % ) คดีเท่ากัน ผลการจับกุมบรรลุเป้า ( เป้า %)
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพี่อสุขภาพที่ดี
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
เรื่อง กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขภาพ รายชื่อผู้จัดทำ ด.ญ. กนกภรณ์ คุ้มโนนคร้อ ม.1/5 เลขที่ 1
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงการกินอยู่อย่างพอเพียง
โครงงานสุขภาพ สมาชิกกลุ่ม ฟิชโช 1. ด.ญ.กัญญาณัฐ โอบอ้อม เลขที่ 5 ม.1/15 2. ด.ช.ชลกวิน วัตรศิริทรัพย์ เลขที่ 12 ม.1/15 3. ด.ช.ธณัติ คิว เลขที่ 18 ม.1/15.
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
เรื่อง โครงงานสุขภาพ กลุ่ม C.A.L.I.N สมาชิก:
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขศึกษา กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพ ที่ดี
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
อาหารหลัก 5 หมู่.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
ข้อ 1 โจทย์ ชาย อายุ 59 ปี มีไข้ ตรวจชีพจร และฟังได้หัวใจเต้นไม่ส่ำเสมอ ทำ ECG ดังแสดง จงอ่าน ECG นี้โดยละเอียด.
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
โดย กัณฐพิชชา สุดจันโท นักโภชนาการ งานโภชนาการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
โรคเบาหวาน ภ.
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ตกลง บริการ ประเมิน ปัญหา หา แนวทาง แก้ไข ติดตาม ประเมินผล Self Assessmemt ---> ประเมิน ความรู้, พฤติกรรมสุขภาพ ----> ก้างปลาปัญหา ----> Recall อาหาร 24.
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี ชื่อผู้ทำโครงงาน ด.ช.กฤติกร ธนาอภิมนตรี ม.1/11 เลขที่ 2 ด.ช.จักรพันธ์ เทพังเทียม ม.1/11 เลขที่ 6 ด.ช.นฤพล ผิวบาง ม.1/11 เลขที่ 24 ด.ญ.สุชัญญา เปรมฤทัย ม.1/11 เลขที่ 47 ด.ญ.อริยา กฤตยารัตน์ ม.1/11 เลขที่ 49 เสนอ อ.สุมน คณานิตย์

บทที่ 1 ปัญหาและสาเหตุ ด.ช.กฤติกร หนัก 95 สูง 168 ซม. ความอ่อนตัว 2 ดันพื้น 26 ลุกนั่ง 28 วิ่ง800ม. 6.35 น. ปัญหา มีน้ำหนักตัวเกินเกณฑ์ สาเหตุ กินอาหารมากเกินไปและเลือกกินอาหารที่มี น้ำตาลมาก รับประทานผักและผลไม้น้อย ด.ช.จักรพันธ์ หนัก 49 สูง 160 ซม. ความอ่อนตัว 4 ดันพื้น 15 ลุกนั่ง 26 วิ่ง800ม. 6.35 น.ปัญหา ไม่มีปัญหาทางสมรรถภาพทางร่างกาย สาเหตุ ออกกำลังกายไม่ สม่ำเสมอ ด.ช.นฤพล หนัก 60 สูง 155 ซม. ความอ่อนตัว -4 ดันพื้น 13 ลุกนั่ง 21 วิ่ง800ม. 6.33 ปัญหา น้ำหนักตัวเกินเกณฑ์และสมรรถภาพควรปรับปรุง สาเหตุ กินอาหารที่มีรส หวานและมีน้ำตาลมาก ไม่ควบคุมการรับประทานอาหาร ด.ญ.สุชัญญา หนัก 44 สูง 159 ซม. ความอ่อนตัว - ดันพื้น - ลุกนั่ง - วิ่ง800ม. 6.45 น. ปัญหา สมรรถภาพทางร่างกายควรปรับปรุง สาเหตุ ไม่ค่อยออกกำลังกายและออก กำลังกายไม่สม่ำเสมอ ด.ญ.อริยา หนัก49 สูง 163 ซม. ความอ่อนตัว 5 ดันพื้น 27 ลุกนั่ง 20 วิ่ง800ม. 6.41 น. ปัญหา ไม่มีปัญหาทางสมรรถภาพทางร่างกาย สาเหตุ ออกกำลังกายไม่สม่ำเสมอ

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นสามารถแบ่งได้ 2 ด้านคือ 1. การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย 2. การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ การเจริญเติบโตสมวัย  ภาวะการเจริญเติบโตที่เห็นได้ชัดเจน คือน้ำหนักและส่วนสูง โดยนำผลที่ได้จากการวัดมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานเพื่อระบุว่าบุคคลนั้นมีการ เจริญเติบโตอย่างไรบ้าง ซึ่งเกณฑ์ประเมินผลการ สารอาหารที่วัยรุ่นต้องการ พลังงาน  อาหารสำหรับวัยรุ่นทั่วๆไป ก็คล้ายๆกับสัสส่วน อาหาร ซึ่งทางเวชศาสตร์ด้านความชราแนะนำคือ ควรได้รับพลังงานจากโปรตีนร้อยละ 10-15 เทียบได้กับเนื้อสัตว์ 45-60 กรัมต่อวัน หรือ 2-3 ส่วนต่อวัน คาร์โบรไฮเดตร้อยละ 45-65  และควรเป็นรูปเชิงซ้อน เช่น กลุ่มแป้ง ข้าว ขนมปัง 8-12 ทัพพี ผัพ 2-4 ส่วนต่อ วัน ผลไม้ และควรรับประทานของสด 3-5 ส่วนต่อวัน ไขมันน้อยกว่าร้อยละ 30 น้ำตาล เกลือเล็กน้อย แคลเซียม 1200-1500 มิลลิกรัมต่อวัน ธาตุเหล็ก 12-15 มิลลิกรัมต่อวัน วิธีการดูแลน้ำหนัก ควบคุมน้ำหนักตัวให้พอดีตามเกณฑ์คือ ควรอาหารให้ตรงเวลา กิน ให้เป็นมื้อ เช่น เช้า กลางวัน และเย็น แต่มื้อเย็นควรกินก่อน 6 โมงลงไป เนื่องจากจะมีการ เผ่าผราญไม่ทันในแต่ละวัน และ ควรออกกำลังกาย เสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ควรออกกำลังกาย เป็นประจำ เช่น เต้น เล่นกีฬา

บทที่ 3 วิธีดำเนินงาน กิจกรรม วันที่ เก่งจังกินผักได้ 2/01/56 3/01/56 4/01/56 11/01/56 14/01/56 18/01/56 24/01/556 กินเท่าไหร่ใช้ให้หมด 7/01/56 9/01/56 16/01/56 22/01/56 25/01/56 การออกกำลังกาย 8/01/56 15/01/56 21/01/56

บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน ชื่อสมาชิก วันที่ 18/11/55 25/11/55 2/12/55 9/12/55 19/12/55 23/12/55 2/01/56 9/01/56 16/01/56 กฤติกร 93/170 93/171 92/171 93/172 92/172 91/173 จักรพันธ์ 49/164 49/165 50/165 49/166 48/166 49/167 48/167 นฤพล 61/156 61/157 62/158 62/159 63/159 สุชัญญา 44/160 45/161 44/161 45/162 46/162 อริยา 49/163 50/163 48/164 ชื่อสมาชิก น้ำหนัก ส่วนสูง อ่อนตัว ดันพื้น ลุกนั่ง วิ่ง800ม. ด.ช.กฤติกร 95 ก. 168 2 26 28 6.35 ด.ช.จักรพันธ์ 49 ก. 160 4 15 5.40 ด.ช.นฤพล 60 ก. 155 -4 13 21 6.33 ด.ญ.สุชัญญา 44 ก. 159 - 6.45 ด.ญ.อริยา 163 5 27 20 6.41

บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินงาน สมาชิกในกลุ่มมีการพัฒนาทางร่างกายที่ดีขึ้นเนื่องจากรับประทานอาหาร ครบ 5หมู่ และออกกำลังกายเพื่อทำให้ร่างกายมีการเจริญเติบโตที่ดีขึ้น ส่วนคนที่ไม่มีการพัฒนาการเนื่องจากรับประทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ และไม่ออกกำลังกาย

บรรณานุกรม M www.megasortnutrition.com www.afic.prg www.student.chula.ac.th www.sites.google.com