โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี ชื่อผู้ทำโครงงาน ด.ช.กฤติกร ธนาอภิมนตรี ม.1/11 เลขที่ 2 ด.ช.จักรพันธ์ เทพังเทียม ม.1/11 เลขที่ 6 ด.ช.นฤพล ผิวบาง ม.1/11 เลขที่ 24 ด.ญ.สุชัญญา เปรมฤทัย ม.1/11 เลขที่ 47 ด.ญ.อริยา กฤตยารัตน์ ม.1/11 เลขที่ 49 เสนอ อ.สุมน คณานิตย์
บทที่ 1 ปัญหาและสาเหตุ ด.ช.กฤติกร หนัก 95 สูง 168 ซม. ความอ่อนตัว 2 ดันพื้น 26 ลุกนั่ง 28 วิ่ง800ม. 6.35 น. ปัญหา มีน้ำหนักตัวเกินเกณฑ์ สาเหตุ กินอาหารมากเกินไปและเลือกกินอาหารที่มี น้ำตาลมาก รับประทานผักและผลไม้น้อย ด.ช.จักรพันธ์ หนัก 49 สูง 160 ซม. ความอ่อนตัว 4 ดันพื้น 15 ลุกนั่ง 26 วิ่ง800ม. 6.35 น.ปัญหา ไม่มีปัญหาทางสมรรถภาพทางร่างกาย สาเหตุ ออกกำลังกายไม่ สม่ำเสมอ ด.ช.นฤพล หนัก 60 สูง 155 ซม. ความอ่อนตัว -4 ดันพื้น 13 ลุกนั่ง 21 วิ่ง800ม. 6.33 ปัญหา น้ำหนักตัวเกินเกณฑ์และสมรรถภาพควรปรับปรุง สาเหตุ กินอาหารที่มีรส หวานและมีน้ำตาลมาก ไม่ควบคุมการรับประทานอาหาร ด.ญ.สุชัญญา หนัก 44 สูง 159 ซม. ความอ่อนตัว - ดันพื้น - ลุกนั่ง - วิ่ง800ม. 6.45 น. ปัญหา สมรรถภาพทางร่างกายควรปรับปรุง สาเหตุ ไม่ค่อยออกกำลังกายและออก กำลังกายไม่สม่ำเสมอ ด.ญ.อริยา หนัก49 สูง 163 ซม. ความอ่อนตัว 5 ดันพื้น 27 ลุกนั่ง 20 วิ่ง800ม. 6.41 น. ปัญหา ไม่มีปัญหาทางสมรรถภาพทางร่างกาย สาเหตุ ออกกำลังกายไม่สม่ำเสมอ
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นสามารถแบ่งได้ 2 ด้านคือ 1. การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย 2. การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ การเจริญเติบโตสมวัย ภาวะการเจริญเติบโตที่เห็นได้ชัดเจน คือน้ำหนักและส่วนสูง โดยนำผลที่ได้จากการวัดมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานเพื่อระบุว่าบุคคลนั้นมีการ เจริญเติบโตอย่างไรบ้าง ซึ่งเกณฑ์ประเมินผลการ สารอาหารที่วัยรุ่นต้องการ พลังงาน อาหารสำหรับวัยรุ่นทั่วๆไป ก็คล้ายๆกับสัสส่วน อาหาร ซึ่งทางเวชศาสตร์ด้านความชราแนะนำคือ ควรได้รับพลังงานจากโปรตีนร้อยละ 10-15 เทียบได้กับเนื้อสัตว์ 45-60 กรัมต่อวัน หรือ 2-3 ส่วนต่อวัน คาร์โบรไฮเดตร้อยละ 45-65 และควรเป็นรูปเชิงซ้อน เช่น กลุ่มแป้ง ข้าว ขนมปัง 8-12 ทัพพี ผัพ 2-4 ส่วนต่อ วัน ผลไม้ และควรรับประทานของสด 3-5 ส่วนต่อวัน ไขมันน้อยกว่าร้อยละ 30 น้ำตาล เกลือเล็กน้อย แคลเซียม 1200-1500 มิลลิกรัมต่อวัน ธาตุเหล็ก 12-15 มิลลิกรัมต่อวัน วิธีการดูแลน้ำหนัก ควบคุมน้ำหนักตัวให้พอดีตามเกณฑ์คือ ควรอาหารให้ตรงเวลา กิน ให้เป็นมื้อ เช่น เช้า กลางวัน และเย็น แต่มื้อเย็นควรกินก่อน 6 โมงลงไป เนื่องจากจะมีการ เผ่าผราญไม่ทันในแต่ละวัน และ ควรออกกำลังกาย เสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ควรออกกำลังกาย เป็นประจำ เช่น เต้น เล่นกีฬา
บทที่ 3 วิธีดำเนินงาน กิจกรรม วันที่ เก่งจังกินผักได้ 2/01/56 3/01/56 4/01/56 11/01/56 14/01/56 18/01/56 24/01/556 กินเท่าไหร่ใช้ให้หมด 7/01/56 9/01/56 16/01/56 22/01/56 25/01/56 การออกกำลังกาย 8/01/56 15/01/56 21/01/56
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน ชื่อสมาชิก วันที่ 18/11/55 25/11/55 2/12/55 9/12/55 19/12/55 23/12/55 2/01/56 9/01/56 16/01/56 กฤติกร 93/170 93/171 92/171 93/172 92/172 91/173 จักรพันธ์ 49/164 49/165 50/165 49/166 48/166 49/167 48/167 นฤพล 61/156 61/157 62/158 62/159 63/159 สุชัญญา 44/160 45/161 44/161 45/162 46/162 อริยา 49/163 50/163 48/164 ชื่อสมาชิก น้ำหนัก ส่วนสูง อ่อนตัว ดันพื้น ลุกนั่ง วิ่ง800ม. ด.ช.กฤติกร 95 ก. 168 2 26 28 6.35 ด.ช.จักรพันธ์ 49 ก. 160 4 15 5.40 ด.ช.นฤพล 60 ก. 155 -4 13 21 6.33 ด.ญ.สุชัญญา 44 ก. 159 - 6.45 ด.ญ.อริยา 163 5 27 20 6.41
บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินงาน สมาชิกในกลุ่มมีการพัฒนาทางร่างกายที่ดีขึ้นเนื่องจากรับประทานอาหาร ครบ 5หมู่ และออกกำลังกายเพื่อทำให้ร่างกายมีการเจริญเติบโตที่ดีขึ้น ส่วนคนที่ไม่มีการพัฒนาการเนื่องจากรับประทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ และไม่ออกกำลังกาย
บรรณานุกรม M www.megasortnutrition.com www.afic.prg www.student.chula.ac.th www.sites.google.com