(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกดิษฐ เกิดโภคา วรรณาภรณ์ เทียรท้าว สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
การพัฒนาระบบสืบค้นข้อมูลกฎหมาย สำหรับนายอำเภอ
The Development of Document Management System with RDF
Graduate School Khon Kaen University
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ระบบสารสนเทศเพื่อการปกครอง
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
บทที่ 15 การออกแบบระบบ.
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยหลักการแล้วจะประกอบด้วย 5 ส่วน คือ องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ องค์ประกอบด้านซอฟท์แวร์ หน่วยงานหรือตัวบุคคล วิธีการปฏิบัติงาน.
บุคลากร (Peopleware) บุคลากรทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ค่อนข้างมีความจำเป็นที่ต้องมีความรู้หลากหลาย และมีความสนใจเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ เสมอ และคอยติดตามข่าวสารความเป็นไปของเทคโนโลยีทางด้านนี้
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
การประยุกต์ใช้ GIS ของกทม.
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
Geographic Information System
การพัฒนาระบบสารสนเทศ:องค์กรขนาดเล็ก
เอกสารประกอบรายงานการประชุมข้าราชการ สำนักงานสรรพสามิตพื้นที่อุบลราชธานี ครั้งที่ 11/2556 เมื่อวันศุกร์ ที่ 29 พฤศจิกายน 2556 ณ ห้องประชุม หน้าห้องฝ่ายปราบปราม.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
การจัดการฐานข้อมูล.
การวิเคราะห์ประเด็น ปัญหาการเฝ้าระวังใน พื้นที่ นายมนัสพร ภมรบุตร นักพัฒนาสังคมชำนาญการ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์จังหวัดเชียงใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
ระบบสารสนเทศ เพื่อการสื่อสาร
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
องค์ประกอบ เทคโนโลยี สารสนเทศ. เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร โทรคมนาคม ฮาร์ดแ วร์ ซอฟต์ แวร์ บุคลาก ร ข้อมูล ขั้นตอน การ ปฏิบัติงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
ADDIE Model.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
การจัดทำเว็บไซต์ เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา เขตภาคกลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ ไทย วันพฤหัสบดีที่ 24 กุมภาพันธ์ 2554 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
Introduction & Objectives 1 Group Idea 2 Programming Design 3 Results and discussion 4 Future plans 5.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 บทนำ - วัตถุประสงค์ พื้นที่ศึกษา การดำเนินงาน  การวางแผนบริหารจัดการน้ำจังหวัดนครปฐม  การวางแผนบริหารจัดการน้ำจังหวัดสมุทรสงคราม  ประเด็นยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน้ำ  เครื่องมือและข้อมูลสำหรับการวางแผนบริหารจัดการน้ำ (2) เนื้อหาการนำเสนอ

(3)

 ข้อมูลที่เกิดขึ้นในกระบวนการทำงานแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ  ระยะแรก เป็นข้อมูลที่มาจากฐานข้อมูลปริภูมิของ thaiwaterplan.org ที่จัดทำโดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  ระยะที่สอง เป็นข้อมูลที่ใช้สำหรับวิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อม (environmental scanning) และสถานภาพของทรัพยากรน้ำ  ระยะที่สาม เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นจากชุมชน และ/หรือ เจ้าหน้าที่ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (4) ข้อมูลสำหรับการบริหารจัดการน้ำ

 จัดทำโดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นในระยะแรกของการดำเนินงานวิจัย  เป็นข้อมูลทุติยภูมิซึ่งจัดทำโดยหน่วยงานราชการ  โดยส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่มีขอบเขตทั้งประเทศและนำมาจัดทำ แยกเป็นรายจังหวัด  ข้อมูลดิบที่ได้โดยส่วนใหญ่มีโครงสร้างชัดเจนและอยู่ในรูปของ สื่อคอมพิวเตอร์  ข้อมูลประกอบด้วยชั้นข้อมูล (layers) มี 14 กลุ่ม (5) ข้อมูลจากฐานข้อมูลปริภูมิของ thaiwaterplan.org

(6)

 เป็นข้อมูลที่จัดหาเพิ่มเติมเพื่อใช้ทำความเข้าใจบริบทของพื้นที่และ สถานการณ์ด้านน้ำของพื้นที่ศึกษา  มีขอบเขตที่พิจารณาทั้งจังหวัด/ข้อมูลที่พิจารณาเฉพาะ อปท.  ส่วนหนึ่งเป็นข้อมูลทุติยภูมิซึ่งจัดทำโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อีกส่วนหนึ่งเป็นข้อมูลปฐมภูมิที่รวบรวมและประมวลผล  เป็นข้อมูลเชิงปริมาณ (quantitative data) และข้อมูลเชิงคุณลักษณะ (qualitative data)  ข้อมูลดิบ  ส่วนหนึ่งมีโครงสร้างชัดเจนและอยู่ในรูปของสื่อคอมพิวเตอร์ ในกรณีที่ ข้อมูลนั้นเป็นข้อมูลที่มีการจัดเก็บตามภารกิจของหน่วยงานอยู่แล้ว  ส่วนข้อมูลที่ไม่มีการจัดเก็บมาก่อน การรวบรวมใหม่ให้สมบูรณ์ทำได้ ค่อนข้างยากโดยเฉพาะข้อมูลระดับจังหวัด เนื่องจาก ข้อจำกัดทั้งด้าน เวลา งบประมาณ และบุคลากร (7) ข้อมูลสำหรับวิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อมของพื้นที่

 เป็นข้อมูลปฐมภูมิที่จัดทำโดยชุมชน/เจ้าหน้าที่ อปท.  มีขอบเขตพิจารณาเฉพาะขอบเขตของ อปท.  ข้อมูลดิบของแต่ละพื้นที่  มีปริมาณไม่มาก  แต่มีความหลากหลายตามบริบทของพื้นที่ (8) ข้อมูลที่สร้างจากคณะทำงานในพื้นที่

(9)

ระบบสารสนเทศบนเว็บเพื่อการจัดการน้ำ  ระบบสารสนเทศจะทำงานได้ตามวัตถุประสงค์ จะประกอบไปด้วยองค์ประกอบ 6 ประการ ประกอบด้วย  ฮาร์ดแวร์ (hardware)  ซอฟต์แวร์ (software)  ข้อมูล (data)  กระบวนการ (procedure)  ระบบเครือข่าย (network)  บุคลากร (peopleware) (10)

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการน้ำ (Water Management Information System [WaterMIS])  ระบบที่พัฒนาขึ้นระบบฐานข้อมูลปริภูมิ หรือ ระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ (GIS) ที่สามารถเรียกค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต องค์ประกอบของระบบ ประกอบด้วย  ฐานข้อมูลปริภูมิระดับประเทศซึ่งเป็นข้อมูลรายจังหวัดที่จัดทำและดูแล โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นแม่ข่าย [thaiwaterplan.org]  ฐานข้อมูลปริภูมิระดับจังหวัดและระดับท้องถิ่น ที่จัดทำและดูแลโดย เครือข่ายสถาบันในพื้นที่ศึกษา (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน)  ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (user interface) ช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ใน การเรียกค้นข้อมูลแผนที่ผ่านอินเตอร์เน็ต [waterMIS.com] (11)

(12) แนวคิดการออกแบบของ waterMIS.com

(13) ซอฟต์แวร์ของ waterMIS.com

Server-side Client-side  Web Server    Map Server   maps.google.com/ maps.google.com/  ? Data server/Spatial data server (14)  Web browser  Internet Explorer (version > 6)  Firefox  Google Chrome  GIS Software  Quantum GIS (QGIS)  ? MapWindows  ? Commercial: ArcGIS, ArcView (old), MapInfo IT Tools

(15) หน้าแรกของเว็บไซต์ watermis.com

(16) การวิเคราะห์โดย Google Analytics

สถิติการเข้าเยี่ยมชมเว็บ (17)

(18) ชนิด web browser ของผู้เข้าชมเว็บ

(19) ความละเอียดจอภาพของผู้เข้าชมเว็บ

 ข้อมูลในกระบวนการทำงานเกิดขึ้นเป็น 3 ระยะ  ข้อมูลที่เกิดขึ้นในระยะแรกช่วยให้เห็นภาพรวมของพื้นที่ศึกษา  ระยะสองช่วยให้เข้าใจบริบทของพื้นที่และสถานการณ์ด้านน้ำ  ระยะสามเป็นข้อมูลที่ช่วยหาคำตอบโจทย์ทางด้านน้ำของพื้นที่  ข้อมูลที่เกิดขึ้นมีรูปแบบหลากหลายผสมผสานกัน  ระบบสารสนเทศพัฒนาจากโครงสร้างของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เพียงอย่างเดียวมีความยืดหยุ่นไม่เพียงพอสำหรับจัดการข้อมูล  การออกแบบในระยะต่อไปควรพิจารณารูปแบบการสร้าง สารสนเทศของระบบบนเว็บที่มีปริมาณข้อมูลจำนวนมาก อาทิ Google, Facebook (20) ข้อมูลและระบบสารสนเทศบนเว็บ

 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการน้ำเฉพาะภารกิจของ อปท.  อาจออกแบบและจัดทำระบบฐานข้อมูลในรูปแบบมาตรฐานได้  หากมีกรณีศึกษาที่ครอบคลุมโจทย์ด้านน้ำเพียงพอ  การพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับการวางแผนจัดการน้ำมีความ แตกต่างจากระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในองค์กรโดยทั่วไป  เนื่องจาก การกำหนดผู้ใช้งานและความต้องการของผู้ใช้ไม่สามารถทำ ได้อย่างชัดเจน จึงมีผลให้การตั้งโจทย์ด้านการวางแผนจัดการน้ำและ การกำหนดข้อมูลที่ต้องการใช้ไม่สามารถกำหนดรูปแบบที่แน่นอน  ดังนั้น ระบบสารสนเทศบนเว็บต้องใช้งานได้ง่าย รองรับการนำเสนอ เนื้อหาได้หลายรูปแบบสำหรับผู้ใช้งานที่หลากหลาย (21) ข้อมูลและระบบสารสนเทศบนเว็บ