ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยใน ICUติด LRI จาก ICU ของโรงพยาบาลพุทธชินราช
หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนล่างของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาใน ICU มีอัตราสูงขึ้นทำให้ผู้ป่วยนอนโรงพยาบาลนานและเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นยังทำให้ ICU มีอัตราการครองเตียงสูงขึ้นทำให้รับผู้ป่วยได้น้อยลงและเพิ่มภาระแก่บุคลากรในICUในการดูแลผู้ป่วยเพิ่มขึ้น
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยในICUติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนล่างจากICU ได้แก่ การใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจ,จำนวนวันที่ใส่,อายุของผู้ป่วย,การปฏิบัติหัตถการของพยาบาลต่อผู้ป่วย,จำนวนพยาบาลต่อแต่ละICU
รูปแบบการวิจัย * Retrospective study : แบบเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรง พยาบาล *Questionaire :สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติหัตถการของพยาบาลต่อผู้ป่วย
ประชากรที่ศึกษา ผู้ป่วยที่จำหน่ายออกจากICU 6 แห่ง(med1,med2,med3,surg,neuro-surg,ped .) ตั้งแต่เดือน เมษายน -มิถุนายน พ.ศ. 2543
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เกณฑ์การวินิจฉัยการติดLRI จาก ICU แบบสังเกตพฤติกรรมการล้างมือ แบบสังเกตพฤติกรรมการดูดเสมหะ แบบสังเกตพฤติกรรมการเปลี่ยนสายเครื่องช่วยหายใจ n=4p(1-p)/c2 , so n=30
แสดงจำนวนผู้ป่วยที่ติดและไม่ติดLRI
แสดงจำนวนผู้ป่วยที่ติดเชื้อและไม่ติดเชื้อ LRI จากการใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจ
THE END