งานวิจัยทางคลินิก เรื่อง : ความน่าเชื่อถือของระดับ Serum PSA ในการตรวจหา มะเร็งต่อมลูกหมากเปรียบเทียบกับผลการตรวจชิ้นเนื้อ ต่อมลูกหมาก ( PROSTATE.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลหาดใหญ่
รายงานบาดเจ็บอุบัติเหตุจราจร ปี 2551
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2553
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การอภิปราย ความพึงพอใจของผู้รับบริการ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
กลุ่ม ๕.
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัดในผู้ป่วยที่มาใช้บริการโดยการผ่าตัด ที่ห้องผ่าตัดใหญ่ รพ. พุทธชินราช โดย นสพ. ณัฐกานต์ ตาบุตรวงศ์
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการคลินิกพิเศษ โรงพยาบาลพุทธชินราช
หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต
สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในปัจจุบัน ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก
Prevalence rate ของผู้ป่วย Abortion
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การประเมินภาวะการใช้ยา Ceftazidime และ Imipenem
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยใน ICUติด LRI จาก ICU ของโรงพยาบาลพุทธชินราช
การศึกษาผลการดำเนินงานคลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลพุทธชินราช
หัวข้อเรื่อง การทบทวนการรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกี
RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP.
การพบเชื้อใน stool culture ของผู้ป่วยเด็ก
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
จัดทำโดย นสภ. มารุตต์ ตรีอินทอง รหัส มหาวิทยาลัยนเรศวร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
การวิเคราะห์ข้อมูล.
การศึกษาอัตราการเกิดอุบัติเหตุฯ ระหว่าง ปฎิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุขของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
ภาณุวัฒน์ ประทุมขำ โปรแกรมเมอร์อาวุโส DAMASAC
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
ความทุกข์จากการรักษามะเร็งสู่การแสวงหาการเยียวยา ศิริวรรณ คำฝั้น พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ วิไลวรรณ สำเภาแก้ว พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลสอง จังหวัดแพร่
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ เครือข่ายโรงพยาบาลสงขลา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม.
เวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน ธันวาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
นางสาวเบญริสา ทองจำรูญ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2558 เดือน ตุลาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
การพยาบาลเฉพาะทาง สาขา การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็ง
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานวิจัยทางคลินิก เรื่อง : ความน่าเชื่อถือของระดับ Serum PSA ในการตรวจหา มะเร็งต่อมลูกหมากเปรียบเทียบกับผลการตรวจชิ้นเนื้อ ต่อมลูกหมาก ( PROSTATE BIOPSY)

หลักการและเหตุผล มะเร็งต่อมลูกหมากเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับที่ 9 ในผู้ป่วยชายไทย (จากงานสถิติสถาบันมะเร็งแห่งชาติปี 2539) มะเร็งต่อมลูกหมากพบมากเป็นอันดับ 1 และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 3 ของผู้ป่วยชายที่เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งทั้งหมดในสหรัฐอมริกา (สถิติปี ค.ศ. 1997) ในโรงพยาบาลพุทธชินราชมีผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งต่อมลูกหมากเข้ารับการตรวจรักษาเป็นจำนวนมาก (ประมาณ 517 ราย ในปี 2543- ปัจจุบัน พฤศจิกายน 2545)

หลักการและเหตุผล การวินิจฉัยมะเร็งต่อมลูกหมากในโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก อาศัยการวัดระดับ serum PSA เป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจทำ Prostate biopsy โดยจะทำการตรวจชิ้นเนื้อต่อมลูกหมากก็ต่อเมื่อ : DRE ไม่บ่งชี้ว่าเป็นมะเร็งแต่มีระดับ serum PSA >10 ng/ml DRE บ่งชี้ว่าเป็นมะเร็งและมีระดับ serum PSA ตั้งแต่ 4 ng/ml ขึ้นไป

วัตถุประสงค์ เพื่อพิจารณาถึงความเหมาะสมในการใช้ระดับ serum PSA มาเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาทำการตรวจชิ้นเนื้อต่อมลูกหมากในผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็นโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก

ผลที่คาดว่าจะได้รับ แนวทางที่เหมาะสมที่ใช้ช่วยพิจารณาวิธีการและขั้นตอนในการตรวจหาข้อมูลที่จะนำไปสู่การวินิจฉัยโรคมะเร็งต่อมลูกหมากในโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก

คำถามวิจัย คำถามหลัก : ระดับ Serum PSA สามารถใช้เป็นเกณฑ์ในการพิจารณาทำการตรวจชิ้นเนื้อต่อมลูกหมาก (prostate biopsy) ในผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็นโรคมะเร็งต่อมลูกหมากได้หรือไม่ คำถามรอง Digital Rectal Examination (DRE) ที่ไม่บ่งชี้ว่าเป็นมะเร็งต่อมลูกหมากและระดับ Serum PSA > 10 ng/ml พบเป็นมะเร็งต่อมลูกหมากเท่าใด Digital Rectal Examination (DRE) ที่บ่งชี้ว่าเป็นมะเร็งต่อมลูกหมากและมีระดับ Serum PSA ตั้งแต่ 4 ng/ml ขึ้นไปพบว่าเป็นมะเร็งต่อมลูกหมากเท่าใด

วิธีการดำเนินการวิจัย รูปแบบการศึกษา : การศึกษาเชิงพรรณาแบบย้อนหลัง ระยะเวลา : 1 กุมภาพันธ์ 2544 – 31 ตุลาคม 2545 กลุ่มตัวอย่าง : ผู้ป่วยในโรงพยาบาลพุทธชินราชที่ได้รับการตรวจระดับ serum PSA ร่วมกับการตรวจชิ้นเนื้อต่อมลูกหมาก จำนวน 43 ราย

วิธีการดำเนินการวิจัย เครื่องมือการวิจัย : เวชระเบียนของผู้ป่วย ประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย ผลการตรวจ Digital Rectal Examination ผลการตรวจระดับ Serum PSA ผลการตรวจชิ้นเนื้อต่อมลูกหมาก สถิติการวิจัย : ใช้สถิติเชิงพรรณาโดยคิดเป็นร้อยละและหาความสัมพันธ์โดยใช้ Odds ratio และ95% Confident interval

ผลการศึกษา ตารางที่ 1 : ผลการตรวจ Digital Rectal Examination DRE Prostate Biopsy Suggested CA Not suggested CA Malignancy 13 8 Non malignancy 12 10 Sensitivity = 61.90% Specificity = 45.45%

ผลการศึกษา ตารางที่ 2 : Serum PSA levelที่ตรวจวัดในโรงพยาบาลพุทธชินราชตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2544 – 31 ตุลาคม 2545 Serum PSA (ng/ml) จำนวน (ราย) ร้อยละ <4 558 72.00 4 – 10 99 12.77 >10 118 15.23 รวม 775 100 หมายเหตุ : Serum PSA level ที่เป็นผู้ป่วยของ ร.พ.พุทธชินราชมีจำนวน ทั้งสิ้น 513ราย แต่ที่มีผลการตรวจชิ้นเนื้อต่อมลูกหมากและผล DRE มีจำนวน 43 ราย

ผลการศึกษา ตารางที่ 3 : Not suggested CA Prostate DRE Serum PSA ( ng/ml ) Prostate biopsy Odds ratio 95% confident interval Malignancy Non malignancy จำนวน (ราย) ร้อยละ <4 1 20.00 4 80.00 1.00 - 4-10 25.00 3 75.00 1.33 0.14-12.09 >10 6 66.67 33.33 8.00 1.42-44.92 รวม 8 44.45 10 55.55

ผลการศึกษา ตารางที่ 4 : Suggested CA Prostate DRE Serum PSA ( ng/ml ) Prostate biopsy Odds ratio 95% confident interval Malignancy Non malignancy จำนวน (ราย) ร้อยละ <4 1 33.33 2 66.67 1.00 - 4 - 10 20.00 4 80.00 0.50 0.05-4.88 >10 11 64.71 6 35.29 3.67 0.63-21.36 รวม 13 52.00 12 48.00

สรุป ในกรณีที่ Digital Rectal Examination (DRE) ไม่บ่งชี้ว่าเป็นมะเร็งต่อมลูกหมากและระดับ Serum PSA > 10 ng/ml พบว่ามีความเหมาะสมที่จะใช้เป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจทำการตรวจชิ้นเนื้อต่อมลูกหมาก ในกรณีที่ Digital Rectal Examination (DRE) บ่งชี้ว่าเป็นมะเร็งต่อมลูกหมากและร่วมกับระดับ Serum PSA ตั้งแต่ 4 ng/ml ขึ้นไปพบว่าไม่เหมาะที่จะใช้เป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจทำการตรวจชิ้นเนื้อต่อมลูกหมาก