รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
กลไกชาติสร้างเด็กไทยก้าวทันโลกยุคใหม่
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
เรื่อง การรวบรวมข้อมูล คลิกเลือกหัวข้อตามที่ต้องการได้เลยค่ะ
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
กิจกรรมสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงานกิจการนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
หน่วยการเรียนรู้ คืออะไร
นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม. ร. ว
ความฝันเกี่ยวกับ นศ. มหิดล
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน การสอน
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
การศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับศตวรรษที่ ๒๑
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ความเห็นจากครูแพทย์ (เก่า) คนหนึ่ง
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การปฏิรูปอุดมศึกษาไทยและความสำคัญของ Learning Outcome Assessment
เพื่อคุณภาพของเด็กและเยาวชน
เวชจริยศาสตร์และการคิดเชิงวิพากษ์
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
บัณฑิตที่พึงประสงค์.
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จัดทำโดย นางสาว นุชธิดา เนียรศิริ
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
หมายเหตุ : หน้าแรกแล้วแต่ท่านจะออกแบบนะครับ
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
หลักสูตรใหม่.... Knowledge กลุ่มความรู้ Knowledge Cluster 1. ภาษาและวัฒนธรรม Language and Culture 2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ Science, Technology,
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน รายวิชาการจัดทำโครงงานด้วยกล่องสมองกล ช่วงชั้นที่ 4 ความหมาย กิจกรรมโครงงาน เป็นกิจกรรมที่เน้นกระบวนการโดยนักเรียนเป็นผู้คิดค้น.
การปรับบุคลิกภาพก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงาน: ผลการประเมินจากหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ วันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมชั้น.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
L o g o บ ท ที่ 8 การเป็นนัก แปล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ.
การพัฒนาคุณธรรมในศตวรรษที่ ๒๑
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
John Dewey Learning by Doing โดย...นางดารุณี ประพันธ์
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุด ดังนั้นในการจัดการ เรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนที่
การนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้
ความเป็นครู.
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
สาระที่ควรปรับปรุงเร่งด่วนของเขตพื้นที่การศึกษา ชั้น ม.3.
ระบบการ ดำเนินการใน โรงเรียน 1. ระบบบริหารจัดการ 2. ระบบการเรียนการสอน 3. ระบบการวัดผลประเมินผล 4. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 5. ระบบงานกิจกรรมนักเรียน.
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
โรงเรียนคุณภาพ สพท.ชัยภูมิ เขต 3
ชิ้นงานที่ 2 สุภาลัย หมายถมกลาง คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการ ออกแบบสถานการณ์หรือ ปัญหาซับซ้อนต่างๆ.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
กฎหมายการศึกษาไทย.
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย บทบาทครูในศตวรรษที่21 รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย

บทกลอน จากครูสอนดี มาลัยมะลิหอมน้อมรำลึก ครูผู้ฝึกให้เราแกร่ง ให้เรากล้า ครูผู้ให้ความรู้ คู่ปัญญา ศิษย์บูชา เชิดชู ครูสอนดี

บทบาทของครูในศตวรรษที่ 21 ครูที่มีใจแก่ศิษย์ยังไม่พอ ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนจุดสนใจหรือจุดเน้นจากการสอน ไปเป็นเน้นที่การเรียน (ทั้งของศิษย์ และของตนเอง) ต้องเรียนรู้และปรับปรุงรูปแบบการเรียนรู้ ที่ตนจัดให้แก่ศิษย์ด้วย ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนบทบาทของตนเองจาก “ครูสอน” (teacher) ไปเป็น “ครูฝึก” (coach) หรือ “ผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้” (learning facilitator) และต้องเรียนรู้ทักษะในการทำหน้าที่นี้ โดยรวมตัวกันเป็นกลุ่มเพื่อเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องที่เรียกว่า PLC (Professional Learning community)

ครูในศตวรรษที่ 21 ต้องยึดหลักสอนน้อย เรียนมาก “ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑” ( 21st Century Skills) ที่ครูสอนไม่ได้ นักเรียนต้องเรียนเอง หรือพูดใหม่ว่าครูต้องไม่สอน แต่ต้องออกแบบ การเรียนรู้ และอำนวยความสะดวก (facilitate) ในการเรียนรู้ ให้นักเรียนเรียนรู้จากการเรียน แบบลงมือทำ แล้วการเรียนรู้ก็จะเกิดจากภายในใจและสมองของตนเอง การเรียนรู้แบบนี้เรียกว่า PBL (Project-Based Learning)

(21st Century Learning)

สถานศึกษาแห่งศตวรรษที่ 21

ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ได้แก่ สาระวิชาหลัก ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ได้แก่ สาระวิชาหลัก ภาษาแม่ และภาษาโลก ศิลปะ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐ และความเป็นพลเมืองดี

หัวข้อสำหรับศตวรรษที่ ๒๑ ความรู้เกี่ยวกับโลก ความรู้ด้านการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองดี ความรู้ด้านสุขภาพ ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมทักษะด้านการเรียนรู้และ นวัตกรรม ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา การสื่อสารและการร่วมมือ

ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ความรู้ด้านสารสนเทศ ความรู้เกี่ยวกับสื่อ ความรู้ด้านเทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ ความยืดหยุ่นและปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผลิต (productivity) และความรับผิดรับชอบ เชื่อถือได้ (accountability) ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ (responsibility)

ทักษะของคนในศตวรรษที่ ๒๑ ที่คนทุกคน ต้องเรียนรู้ตั้งแต่ชั้นอนุบาลไปจนถึงมหาวิทยาลัย และตลอดชีวิต คือ 3R x 7C 1. 3R ได้แก่ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้) และ(A)Rithmetics (คิดเลขเป็น)

2. 7C ได้แก่ (1) Critical thinking & problem solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ ทักษะในการแก้ปัญหา) (2) Creativity & innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) (3) Cross-cultural understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) (4) Collaboration, teamwork & leadership (ทักษะด้านความร่วมมือการทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ)

2. 7C ได้แก่ (ต่อ) (5) Communications, information & media literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ) (6) Computing & ICT literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร) (7) Career & learning skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้

ครูเพื่อศิษย์ต้องฝึกฝนตนเองให้มีทักษะในการเป็นโค้ช และเป็น “คุณอำนวย” (facilitator) ในการเรียนรู้แบบ PBL (Project-Based Learning) ของศิษย์ ครูต้องเลิกเป็น “ผู้สอน” ผันตัวเองมาเป็นโค้ช หรือ “คุณอำนวย” ของการเรียนของศิษย์ที่ส่วนใหญ่เรียนแบบ PBL

นั่นหมายถึง โรงเรียนในศตวรรษที่ ๒๑ ต้องเลิกเน้นสอน หันมาเน้นเรียน ซึ่งต้องเน้นทั้งการเรียนของศิษย์และของครู ครูจะต้องปรับตัวมาก ซึ่งเป็นเรื่องยาก จึงต้องมีตัวช่วย คือ Professional Learning Communities (PLC) ซึ่งก็คือ การรวมตัวกันของครูประจำการ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ การทำหน้าที่ครูนั่นเอง