งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กฎหมายการศึกษาไทย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กฎหมายการศึกษาไทย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กฎหมายการศึกษาไทย

2 วิสัยทัศน์และแผนพัฒนาการศึกษาไทย

3 ประเภทของแผน แผนระยะยาว ปี เช่น แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ ) แผนระยะกลาง 4-6 ปี เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ แผนพัฒนาประจำปี 1 ปี เช่นแผนพัฒนาการศึกษาระดับต่าง ๆ (แผนขอเงิน) แผนปฏิบัติการประจำปี (แผนใช้เงิน)

4 ความหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ และแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ
แผนการศึกษาแห่งชาติ หมายถึง แผนงานหลักในการจัดการศึกษาของชาติ แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ หมายถึง แผนกำหนดทิศทาง และขอบเขตในการพัฒนาการศึกษาของชาติ ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

5 วิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์(Vision) หมายถึงภาพในอนาคตขององค์กรซึ่งได้มาจาก ปัญญา ความคิด โดยภาพนั้นตั้งอยู่บนพื้นฐานของความจริง มีความเป็นไปได้ ดึงดูดใจให้ปฏิบัติตาม สอดคล้องกับภาระหน้าที่ขององค์กร อันจะทำให้องค์กรมีสภาพดีกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน

6 วิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์(Vision) คือภาพความสำเร็จในอนาคตขององค์กร โดยเน้นถึงความมุ่งมั่นในการพัฒนาให้ถึงจุดหมาย เป็นสภาพที่พึงปรารถนา ในอนาคต อาจมีลักษณะในเชิงปรัชญา ที่สามารถให้ทิศทางกับผู้นำ ที่จะนำองค์กรไปสู่ภารกิจหลักที่มีความชัดเจน เป็นรูปธรรม กล่าวคือ เป็นภารกิจที่ต้องทำ ทำเพื่ออะไร ทำเพื่อใคร ในมิติเวลานั้น หรือ

7 แสดงจุดมุ่งมั่นในภารกิจ
วิสัยทัศน์ ลักษณะของวิสัยทัศน์ แสดงจุดมุ่งมั่นในภารกิจ มีความชัดเจน จำได้ง่ายและสามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้ เป็นภาพเชิงบวกที่สะท้อนถึงความเป็นเลิศขององค์กรในอนาคต คำนึงถึงผู้รับบริการเป็นสำคัญ

8 ปรัชญา การศึกษาสร้างคน คิดค้นภูมิปัญญา
ปรัชญาและวิสัยทัศน์ของ มรน.  ปรัชญา การศึกษาสร้างคน คิดค้นภูมิปัญญา พัฒนาท้องถิ่น วิสัยทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม มุ่งมั่นที่จะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพพร้อมทำงานในประชาคมอาเซียน เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้อารยธรรมทวารวดี และเป็นคำตอบของท้องถิ่นในการสร้างภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง

9 จากแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับต่าง ๆ
วิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์การศึกษาไทย จากแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับต่าง ๆ

10 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ 1-10
ฉบับที่ 1 ( ) ฉบับที่ 6 ( ) ฉบับที่ 2 ( ) ฉบับที่ 7 ( ) ฉบับที่ 3 ( ) ฉบับที่ 8 ( ) ฉบับที่ 4 ( ) ฉบับที่ 9 ( ) ฉบับที่ 5 ( ) ฉบับที่ 10 ( ) ฉบับที่ 11 ( ) ฉบับที่ 12 ( )

11 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ 1-9
วิสัยทัศน์ แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ 1-9 เน้นเศรษฐกิจเป็นหลัก เป็นตัวนำ มองว่า ประเทศอุดมสมบูรณ์ มีรายได้ดีช่วยให้ เศรษฐกิจดี จึงให้ความสำคัญกับการพัฒนา เศรษฐกิจ มองข้ามการพัฒนาคน ฉบับที่ 1-2( ) ฉบับที่ 3 ( ) ฉบับที่ 4 ( ) ฉบับที่ 5-7 ( ) เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เป็น ช่วงมีการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจสังคม คุณภาพประชาชนตกต่ำ ค่านิยมเปลี่ยนแปลง การศึกษาถูกละเลยมองข้าม ฉบับที่ 8 ( ) ฉบับที่ 9 ( )

12 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ ที่ 10
วิสัยทัศน์ แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ ที่ 10 ฉบับที่ 10 ( สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10(พ.ศ – 2554) และแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ – 2559) มุ่งให้คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การขับเคลื่อนต้องใช้ “ความรู้”ในการพัฒนาด้านต่าง ๆ สอดคล้องกับวิถีสังคมไทย ตลอดจนสร้างศีลธรรมและจิตสำนึกใน “คุณธรรม” ดำรงตนอย่างมั่นคงในกระแสโลกาภิวัตน์

13 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 8 - 10
ในภาพรวมแล้วแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับต่างๆ โดยเฉพาะ ฉบับที่ 8 ฉบับที่ 9และฉบับที่ 10 ได้กำหนดวิสัยทัศน์ในภาพรวมที่สอดคล้องกันคือ “จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต มุ่งพัฒนาคนให้มีความรู้คู่คุณธรรม คิดเป็นทำเป็น พึ่งตนเองได้ รวมทั้งสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ สรรค์สร้างสังคมที่สงบสุข มีความรัก ความเอื้ออาทรต่อเพื่อนมนุษย์ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความรอบรู้ มีความสามารถที่เป็นสากล ดำรงไว้ซึ่งความเป็นไทย”

14 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559)
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) มุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพการศึกษา และสร้างโอกาสทางการศึกษาให้คนไทยได้ เรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้คนไทยทุกกลุ่มทุกวัยมีคุณภาพ มีความพร้อมทั้ง ทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา มีจิตสำนึกของความเป็นไทย มีความเป็น พลเมืองที่ดี ตระหนักและรู้คุณค่าของขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมที่ดีงาม มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง และตอบสนองต่อทิศ ทางการพัฒนาประเทศ วิสัยทัศน์ “คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ เป็นคนดี มีความสุข มีภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทัน ในเวทีโลก”

15 สาระสำคัญของแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ. ศ
สาระสำคัญของแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ ) เป้าหมายหลัก 1. คุณภาพการศึกษาของไทยดีขึ้น คนไทยมีคุณธรรมจริยธรรม มีภูมิคุ้มกันต่อ การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาประเทศในอนาคต 2. กำลังคนได้รับการผลิตและพัฒนาเพื่อเสริมสร้างศักยภาพการแข่งขันของ ประเทศ 3. มีองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนุนการพัฒนาประเทศอย่ยั่งยืน 4. คนไทยได้รับโอกาสในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 5. ระบบบริหารจัดการการศึกษามีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล โดยการมี ส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน

16 สาระสำคัญของแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ. ศ
สาระสำคัญของแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ ) วิสัยทัศน์ “มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขในสังคม” พันธกิจ 1. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ/ประเภทสู่ สากล 2. เสริมสร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษา ของประชาชนอย่างทั่วถึง เท่าเทียม 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการ การศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล

17 แผนการศึกษาแห่งชาติ. พ.ศ. 2560 - 2579.
แผนการศึกษาแห่งชาติ. พ.ศ. 

18 ยุทธศาสตร์ชาติ : กรอบการพัฒนาระยะยาว
เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” นำไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุข และตอบสนองต่อการบรรลุ ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูงเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้าง ความสุขของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและ เป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ

19 2 4 1 3 6 5 “มั่งคั่ง” “มั่นคง” “ยั่งยืน” ความมั่นคง
การสร้างความสามารถในการแข่งขัน 4 การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม 1 ความมั่นคง การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 3 “มั่นคง” 6 การปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ 5 การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม “ยั่งยืน”

20 ความมั่นคง การมีความมั่นคงปลอดภัย จากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศ ในทุกระดับ ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล และมีความมั่นคงในทุก มิติ ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง ประเทศ มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย มีสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ที่เข้มแข็ง เป็นศูนย์กลางและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน ระบบการเมืองที่มั่นคงเป็นกลไกที่ นำไปสู่ การบริหารประเทศที่ต่อเนื่องและโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล สังคม มีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกำลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชน มีความ เข้มแข็ง ครอบครัว มีความอบอุ่น ประชาชน มีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่มั่นคงพอเพียงกับการดำรงชีวิตมีที่อยู่อาศัย และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงของอาหารพลังงาน และน้ำ

21 ความมั่งคั่ง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ยกระดับเป็นประเทศในกลุ่มประเทศ รายได้สูงความเหลื่อมล้ำของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนา อย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขันสูงสามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอก ประเทศสร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต และเป็นจุดสำคัญของการเชื่อมโยงในภูมิภาค ทั้งการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน และการทำธุรกิจ มีบทบาทสำคัญในระดับ ภูมิภาคและระดับโลก เกิดสายสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่างมีพลัง ความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเนื่อง ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนการเงิน ทุนที่เป็นเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม

22 ความยั่งยืน การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชนให้เพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดีไม่สร้าง มลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมจนเกินความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศน์ การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบของประชาคม โลก ซึ่งเป็นที่ยอมรับร่วมกัน ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมี คุณภาพดีขึ้น คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืนให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วน เพื่อการพัฒนาในทุกระดับอย่างสมดุล มีเสถียรภาพ และยั่งยืน ประชาชนทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

23 ไทยแลนด์ 4.0 ความมั่นคงของชาติ โมเดลเศรษฐกิจไทยในช่วงที่ผ่านมา
ประเทศไทย 3.0 เน้นอุตสาหกรรมหนัก เน้นส่งเสริมการส่งออก เน้นการลงทุนและการนำเข้า เทคโนโลยีจากต่างประเทศ ความมั่นคงของชาติ Globallization โมเดล ประเทศไทย 2.0 เน้นอุตสาหกรรมเบา เน้นทดแทนการนำเข้า เน้นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และแรงงานราคาถูก โมเดล ประเทศไทย 1.0 เน้นเกษตรกรรม เน้นหัตถกรรม Industrialization

24 กับดักประเทศรายได้ปานกลาง
การเผชิญกับ 3 กับดักในโมเดลประเทศไทย 3.0 โมเดล ประเทศไทย 3.0 กับดัก ความไม่สมดุล ความมั่นคงของชาติ กับดัก ความเหลื่อมล้ำ โมเดล ประเทศไทย 2.0 โมเดล ประเทศไทย 1.0 กับดักประเทศรายได้ปานกลาง

25 ทักษะที่จำเป็นเพื่อพัฒนาไปสู่ Thailand 4.0
ทักษะที่ต้องพัฒนาสำหรับคน ไทย เพื่อเข้าสู่ Thailand 4.0 ทักษะที่ต้องพัฒนาสำหรับผู้เรียน เพื่อเข้าสู่ Thailand 4.0 Critical Thinking & Evaluation Productivity & Innovation Creativity & Imagination Change & Problem-Solving Communication & Self Confident Asian & International Ethic & Responsibility ทักษะที่เป็น จุดเน้น Critical Mind Creative Mind Productive Mind Responsible Mind ที่มา : ศ.ไพฑูรย์ สินลารัตน์ ที่มา : กระทรวงศึกษาธิการ ที่มา : ศ.ไพฑูรย์ สินลารัตน์

26 กรอบแนวคิดการพัฒนาการศึกษา ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579)
การก้าวสู่ประเทศโลกที่หนึ่ง ภายในปี พ.ศ. 2579 Quick Win 3 - 5 ปี ยั่งยืน มั่นคง มั่งคั่ง วิสัยทัศน์และกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์การศึกษา 20 ปี

27 Quick-win เน้นการพัฒนา 5 กลุ่มเป้าหมายเร่งด่วน : ระยะ 3 - 5 ปี
Gifted/Talented 1. ใช้ประโยชน์จากกลุ่ม Gifted (Olympiads /สอวน./พสวท./กพ./วท. ฯลฯ) โรงเรียนที่รับเด็กเก่งเฉพาะด้าน (กำเนิดวิทย์ มหิดล จุฬาภรณ์ฯ) ให้คุ้มกับการลงทุนและใช้ทรัพยากรทางการศึกษา โดยส่งเสริมให้ศึกษาในสาขาที่ประเทศขาดแคลนและต้องการ และจัดงานรองรับอย่างเหมาะสม 2. ส่งเสริมสนับสนุนผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ อาชีวศึกษา 1. เน้นการผลิตกำลังคนใน 5 กลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมายที่สามารถทำงานได้จริง และได้ทันที 2. สานพลังประชารัฐด้านยกระดับวิชาชีพ 3. ขยายการศึกษาแบบทวิภาคี ทวิวุฒิเพื่อพัฒนาฝีมือแรงงานที่มีทักษะในสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ อุดมศึกษา จัดกลุ่มมหาวิทยาลัยตามความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เพื่อรวมพลังสร้างความเป็นเลิศ เร่งผลิตกำลังคนตามความต้องการของประเทศใน 5 กลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมาย เป็นผู้นำในการวิจัยและพัฒนา (R&D) และนำผลไปพัฒนา โดยเฉพาะใน 5 กลุ่มหลัก สร้างผู้นำและผู้ประกอบการที่สามารถแข่งขันได้ เป็นสะพานสร้างการมีส่วนร่วมของโรงเรียน ชุมชน อุตสาหกรรม เน้นการจัดสหกิจศึกษา กำลังแรงงาน (บัณฑิตที่ว่างงาน/แรงงานไร้ฝีมือ) ยกระดับสมรรถนะกำลังแรงงานเพื่อรองรับ 5 กลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมาย โดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ผู้สูงอายุ ใช้ประโยชน์จากความรู้และประสบการณ์เพื่อสร้างเสริม สนับสนุนการขับเคลื่อน Thailand 4.0 ในลักษณะคลังสมอง (Think Tank) และผู้ประกอบการ (Entrepreneur)

28

29 การศึกษากับการเปลี่ยนแปลง
1. กำหนดบทบาทการผลิตนักศึกษาของอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาให้ชัดเจนตามความถนัดและความเป็นเลิศของแต่ละสถาบันเพื่อลดความซ้ำซ้อน และตรงกับทิศทางความต้องการของประเทศ และประชาชนทุกช่วงวัย 2. กำหนดผลลัพธ์ (Outcome) ของสถาบันอุดมศึกษา เช่น เป็นศูนย์วิจัยที่มีคุณภาพ มีการวิจัยและพัฒนาจนเกิดเป็นนวัตกรรมจากทรัพยากรในท้องถิ่น เพื่อเพิ่มมูลค่าการส่งออกของประเทศ 3. จัดให้สถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่ทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้แก่สถานศึกษาในท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น 4. สร้างทักษะการเรียนรู้ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ การเรียนรู้ภาษา เทคโนโลยี STEM

30 5. ต้องมีหลักสูตรที่คล่องตัว ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนรู้ทักษะและความรู้ตามที่ต้องการได้
6. ต้องมีวิธีการเรียนรู้ที่น่าสนใจ และสอดคล้องกับยุคสมัย ไม่ใช่การถ่ายทอดจากปาก (Transmissive Education) แต่ใช้เทคโนโลยีดิจิตัลเพื่อการศึกษาปรับจาก ครูจากห้องสี่เหลี่ยม เป็นครูจากสภาพแวดล้อม มีเครือข่ายความร่วมมือของครู Professional Learning Communities : PLC) 7. ครูเปลี่ยนสภาพจากผู้สอน (Teacher) เป็นครูฝึก (coach) หรือครูอำนวยความ สะดวกในการเรียนรู้ (Learning Facilitator) หรือ ครูประเมิน (Evaluator)

31 8. ปรับระบบการเรียนรู้จากการถ่ายทอดเนื้อหาความรู้เป็นเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ
(Learning by doing) โดยการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project-based Learning : PBL) 9. ทำให้ผู้เรียนมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ มีความตื่นตัวในการเรียนรู้ สร้างกลยุทธ์ การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด

32

33 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt กฎหมายการศึกษาไทย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google