ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
Advertisements

แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
KM Learning Power ครั้งที่ 3
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
พัชราภรณ์ ปันแก้ว นันทา เติมสมบัติถาวร มินตรา ไชยชนะ
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
ขั้นตอนที่ 3 จัดเตรียมแหล่งข้อมูล (Provide Resources)
การดำเนินงานด้านการบริการ
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
สมพงษ์ เจริญศิริ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
โต้วาทีน้องใหม่ ชิงโล่อธิการบดี
Live and Learn Library Tour เรียนรู้สู่การปฏิบัติจริง
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
แอนดรอยด์และไอโอเอสแอปพลิเคชัน สำหรับวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ และงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ Android and IOS Applications for CMU e-Theses and CMU e-Research.
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสัมมนา
CHE QA ONLINE ประชุมชี้แจงการปรับปรุงและ การใช้ระบบฐานข้อมูลด้านการ ประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา 28 ก. ค
Best Practice ความร่วมมือระหว่างห้องสมุดคณะทำงานฝ่ายบริการสารนิเทศ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ปี 2551.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การจัดการความรู้ KMUTNB
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
โดย สุกาญจนา ทิพยเนตร 1. สร้างสรรค์นวัตกรรมทางเทคโนโลยี สารสนเทศที่ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพสูงที่ นำมาสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้ 2. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เชี่ยวชาญ.
แนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาการ เรียนรู้ของบัณฑิต ที่พึงประสงค์ ตามแนวทาง TQF.
ความพร้อมในการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่ง ของนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาเอก The e-Learning Readiness of PhD. Nursing Students ดร. เจือจันทน์ วัฒกีเจริญ มหาวิทยาลัย.
----- ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับการสอนวิชา SPSS ชื่อผู้วิจัย นางเขมิกา ภาคเกษี สังกัดวิทยาลัย.
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ททททททททททท. ความหมาย กระบวนการในการ ค้นหาเอกสาร หรือ สารสนเทศที่ ต้องการ โดยใช้เครื่องมือช่วยค้น รูปแบบต่างๆ การสืบค้นสารสนเทศ (Information Searching.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย ร้อยละของนักวิจัยกลุ่มเป้าหมายที่ใช้บริการเพิ่มขึ้นร้อย ละ 3 ร้อยละของความพึงพอใจในการใช้บริการของ ศูนย์บริการข้อมูลแก่นักวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผลการดำเนินงานปี 2554 นักวิจัยกลุ่มเป้าหมายที่ใช้บริการเพิ่มขึ้นร้อยละ 33.60 ความพึงพอใจในการใช้บริการของศูนย์บริการข้อมูลแก่ นักวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร้อยละ 93.20

Information Skill and Training - Information Literacy ฝึกอบรมทักษะการสืบค้น สารนิเทศจากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงเรียนรู้ การใช้โปรแกรมการจัดการเอกสาร และการใช้ สารนิเทศในรูปแบบต่าง ๆ - Online Tutorials ศึกษาเรียนรู้การสืบค้น สารนิเทศได้ด้วยตนเอง ผ่านเว็บไซต์ Research Support เข้าสู่เว็บไซต์ Research Support

ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินงาน

จำนวนนักวิจัยโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย ปี 2552-2554 ห้องสมุดกลาง ห้องสมุดคณะ 3 สาขา 2552 37 72 2553 52 76 2554 53 114

สิ่งที่ได้จากการพบนักวิจัย ความต้องการของนักวิจัยในด้านต่างๆ เช่น ฐานข้อมูล โปรแกรมการฝึกอบรม การได้รับการสนับสนุนจากอาจารย์ นักวิจัย ในการส่ง นักศึกษาเข้าอบรมโปรแกรมเรียนรู้การใช้สารสนเทศของ ห้องสมุด การใช้ฐานข้อมูลที่เพิ่มขึ้น คุ้มค่าการลงทุนมากขึ้น

นักศึกษาระดับปริญญาเอกเข้าร่วมโครงการบรรณารักษ์พบนักวิจัย

สรุปผล การจัดบริการสนับสนุนการวิจัย (Research Support) พบว่า นักวิจัย อาจารย์ และนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาได้ให้ความสนใจใช้บริการ จากข้อมูลสถิติ พบว่ามีการเข้าใช้เว็บไซต์ Research Support จำนวน 35,176 ครั้ง (ปี2552) 85,619 ครั้ง (ปี 2553) 222,589 ครั้ง (ปี 2554) นักวิจัยเข้าร่วมกิจกรรม Liaison Librarians จำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี ผลการประเมินความพึงพอใจ พบว่านักวิจัยที่เข้าร่วม กิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด(ดีเยี่ยม) จาก การประเมิน 5 ระดับ ในทุกปีที่ดำเนินการ

การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ บริการสนับสนุนการวิจัย (Research Support) เป็น บริการที่เข้าถึงอาจารย์ นักวิจัย และนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาให้ได้รับแนวคิดใหม่ ๆ ในการแสวงหา แหล่งและสารนิเทศได้เพิ่มมากขึ้น สามารถนำความรู้ และทักษะไปต่อยอดใช้ในการสืบค้นสารนิเทศ อิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการผลิตผล งานวิจัยที่มีคุณภาพ ในขณะเดียวกันอาจารย์สามารถ นำความรู้ไปสอนถ่ายทอดถึงนักศึกษา บรรณารักษ์ผู้ปฏิบัติงานทั้งห้องสมุดกลางและห้องสมุด คณะ จึงควรหาวิธีการ เชิญชวนนักวิจัยให้มา ใช้บริการสนับสนุนการวิจัยให้มากที่สุดต่อไป

คำถาม?

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ : บริการสนับสนุนการวิจัย ห้องสมุดมหาวิทยาลัยในประเทศไทย เพื่อพัฒนาการบริการของห้องสมุดให้สนับสนุน มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยวิจัย (Research University) เราควรมีแนวทางการบริการอย่างใร ? อะไรคือ Best Practice ของการบริการนักวิจัย ?