โรงเรียนศรีวัฒนาบริหารธุรกิจ และเทคโนโลยีนานาชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
ฟังให้ดีมีประโยชน์.
การฟัง การฟัง  คือ  การรับรู้ความหมายจากเสียงที่ได้ยิน  เป็นการรับรู้สารทางหู  ในชีวิตประจำวันของ เรา  เราใช้เวลาในการฟัง ทั้งที่ฟังจากบุคคลโดยตรง 
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
เรื่อง เขาเป็นใครหนอ ? เขามาจากไหน ?
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
ภาพรวมของหน่วยจัดการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง 中国货币 (สกุลเงินจีน) ช่วงชั้นที่ที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูนาฎหทัย สิทธิบุญ โรงเรียนแกลง“วิทยสถาวร”จังหวัดระยอง.
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง ข้าวสาลีมีความสำคัญต่อ
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
ครูอิงครัต กังวาลย์ โรงเรียนทุ่งสง
 การสอนแบบอภิปราย.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
ตัวชี้วัด รายวิชา อ ต 1.1 ม.2/1 ปฏิบัติตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ อ่าน อ่าน.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
ทักษะภาษาไทยที่นักเรียนควรทราบ
มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ อาจารย์จิตรลดา วัฒนาพรรณกิตติ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
ทักษะการคิดวิเคราะห์
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ความหมายของการวิจารณ์
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน อ33208
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
การฟังเพลง.
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
ความหมายของการวิจารณ์
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
การใช้ทักษะในการพูด ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพูด ผู้พูด สื่อ สาร
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
รายงานผลการวิจัย.
ความสัมพันธ์ของการฟังและการดู ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การใช้ข้อสอบกลางในการ สอบปลายปี
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงเรียนศรีวัฒนาบริหารธุรกิจ และเทคโนโลยีนานาชาติ

คำขวัญโรงเรียน ปฏิบัติเยี่ยม เปี่ยมคุณธรรม เป็นผู้นำเทคโนโลยี

ปรัชญาโรงเรียน การศึกษาคือชีวิต เพื่อชีวิต

ภาษาไทยเชิงสร้างสรรค์ รหัส ( 3000-1-103 )

จำนวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต จำนวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต เวลาเรียน 2 คาบ / สัปดาห์ ขาดเรียนได้ไม่เกิน 5 คาบ

1. เข้าใจพื้นฐานการใช้ภาษาไทย จุดมุ่งหมายรายวิชา 1. เข้าใจพื้นฐานการใช้ภาษาไทย 2. เข้าใจหลักการอ่าน สามารถจับใจความสำคัญ และวิเคราะห์ความจากเรื่องที่อ่านได้ถูกต้อง 3. สามารถวิเคราะห์ความจากเรื่องที่ฟังได้ถูกต้อง 4. ให้เห็นความสำคัญ และตระหนัก ในคุณค่าของ การใช้ภาษาไทย

เข้าใจหลัก วิธีการ และสามารถเขียนข้อความในรูปแบบต่าง ๆซี่งจะเป็นประโยชน์ในงานอาชีพ 6. เข้าใจหลัก และวิธีการพูดประเภทต่าง ๆ และ สามารถใช้ศิลปะการพูดได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อประโยชน์ในงานอาชีพ

คำอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักกลวิธีและฝึกทักษะการรับสาร การพูดในโอกาสและสถานการณ์ ได้แก่ การสนทนา การแสดงความคิดเห็น การประชุม การพูดในที่ชุมชน การกล่าวในโอกาสต่างๆ มารยาทในการพูด การฟัง การสรุปความ เป็นต้น

COURSE OUTLINE ( FT ) สัปดาห์ที่ 1 แนะนำการเรียนการสอน บทที่ 1 การรับสารการฟัง สัปดาห์ที่ 2 การอ่าน สัปดาห์ที่ 3 การอ่าน สัปดาห์ที่ 4 สอบเก็บคะแนนเรื่องการอ่าน สัปดาห์ที่ 5 การพูดในที่ประชุมชน

สัปดาห์ที่ 6 การพูดในโอกาสและ สถานการณ์ต่าง ๆ สัปดาห์ที่ 7 การประชุม สัปดาห์ที่ 8 สอบเก็บคะแนนเรื่องการประชุม สัปดาห์ที่ 9 สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 10 การเขียน การใช้ลักษณนาม สัปดาห์ที่ 11 การเขียน การใช้สำนวนโวหาร ตัวอย่างการเขียนคำที่ถูกต้อง

สัปดาห์ที่ 12 สอบเก็บคะแนนเรื่องการเขียน สัปดาห์ที่ 13 การเขียนรายงานทางวิชาการ สัปดาห์ที่ 14 การเขียนเชิงอรรถ สัปดาห์ที่ 15 การเขียนเชิงอรรถ สัปดาห์ที่ 16 การเขียนบรรณานุกรม สัปดาห์ที่ 17 สอบการเขียนเชิงอรรถและ บรรณานุกรม สัปดาห์ที่ 18 สอบปลายภาค

เกณฑ์การประเมินผล อัตราส่วนคะแนน 6 : 4 ระหว่างภาค 60 คะแนน อัตราส่วนคะแนน 6 : 4 ระหว่างภาค 60 คะแนน ปลายภาค 40 คะแนน

สอบย่อย 30 คะแนน งาน 20 คะแนนพฤติกรรม 10 คะแนน สอบกลางภาค 20 คะแนน สอบปลายภาค 20 คะแนน

40 คะแนน แบ่งดังนี้ สอบย่อย 10 คะแนน งาน 10 คะแนน สอบปลายภาค 20 คะแนน

Email Thidarat_it@hotmail.com ดำเนินการสอนโดย อ. ฐิดารัตน์ อินปอง 083 - 9893206 089 – 2051944 Email Thidarat_it@hotmail.com

หน่วยที่ 1 การรับสารการฟัง หน่วยที่ 1 การรับสารการฟัง การฟังเป็นทักษะพื้นฐานของคนเรา ที่ใช้มากเป็นอันดับ 1 คนเรามีทักษะทั้งหมด 4 ทักษะ คือ

สุ สุต ( ฟัง ) จิ จินตน ( คิด ) ปุ ปุจฉา (ถาม ) ลิ ลิขิต ( เขียน ) ฟัง สุ สุต ( ฟัง ) ฟัง พูด อ่าน เขียน จิ จินตน ( คิด ) ปุ ปุจฉา (ถาม ) ลิ ลิขิต ( เขียน )

กระบวนการของการฟังเริ่มจากอะไร ? เสียง หู โสตประสาท สมอง แปลความหมาย

การฟังมีความสำคัญอย่างไร เนื่องจากมนุษย์เราใช้ทักษะการฟังเป็นอันดับแรก ในการสื่อความหมาย ฉะนั้นความสำคัญของการฟังคือนำเรื่องที่ฟังมาคิด พิจารณาว่าผู้ส่งสารต้องการสื่อสารอะไรกับเรา และจะได้ทำให้ถูกต้อง

จุดมุ่งหมายของการฟัง 1. ฟังเพื่อความรู้ 2. ฟังเพื่อความเพลิดเพลิน ฟังเพื่อสร้างจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ ฟังเพื่อพัฒนาตนเอง

การฟังกับการได้ยินต่างกันอย่างไร ? การฟังกับการได้ยินต่างกันอย่างไร ? การฟัง คือการตั้งใจฟังในสิ่งนั้นๆ การได้ยิน คือการรับรู้ความหมายจากเสียงที่ได้ยิน เป็นจุดเริ่มต้นของการฟัง องค์ประกอบของการฟังคือ ได้ยิน รับรู้( สนใจ ) เข้าใจ ตอบสนอง

ประเภทของการฟัง 1 . ฟังโดยผู้ฟังมีส่วนร่วม - การสื่อสารระหว่างบุคคล การพูดในชีวิตประจำวัน ฟังโดยผู้ฟังไม่มีส่วนร่วม - การกล่าวอวยพร การโฆษณาหาเสียง การให้โอวาท ฟังโดยผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ** เข้าถึงผู้ฟังได้ทุกระดับ

การฟังเพื่อจับใจความสำคัญ หมายถึง การที่ผู้ฟังเข้าใจเรื่องที่กำลังฟังอยู่ได้ตรงตามจุดประสงค์ของผู้พูดและใช้ วิจารณญาณ ในการฟังตามไปด้วย แบ่งเป็น - การฟังเพื่อจับใจความสำคัญ - ฟังเพื่อจับใจความอย่างละเอียด ** วิจารณญาณ หมายถึง การคิด ใคร่ครวญ ไตร่ตรองอย่างมีเหตุมีผล ได้แก่ วิเคราะห์ ใคร่ครวญ วินิจฉัย ประเมินค่า นำไปใช้

WHAT WHERE WHO WHEN WHY HOW

แบบฝึกหัด 1. การฟังหมายถึง 2. กระบวนการของการฟังเริ่มอย่างไร 1. การฟังหมายถึง 2. กระบวนการของการฟังเริ่มอย่างไร 3. อาชีพใดที่อาศัยการฟังมากที่สุด 4. การฟังอย่างมีวิจารณญาณหมายถึง 5. การตีความ หมายถึงอะไร 6. ทักษะ แปลว่า 7. ทักษะใดที่เกิดเป็นอันดับแรก 8. การฟังที่ดีเมื่อฟังจบแล้วควรเป็นอย่างไร 9. อะไรเป็นจุดเริ่มต้นของการฟัง 10. การฟังโฆษณาหาเสียง จัดเป็นการฟังประเภทใด