ชีวิตเป็นกระบวนการ (Process) อันยืดยาว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
Advertisements

ส่งการบ้านในระบบ E-laering
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
ชีวิตคืออะไร ? ชีวิตตามสภาพของมันเอง ขันธ์ 5 เป็นส่วนประกอบของชีวิต
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
2 ข้อนี้จัดเข้าในปัญญา
สื่อช่วยสอน สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง เบญจศีล – เบญจธรรม
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
การเฝ้าระวังนักเรียน นักศึกษา ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ
ชื่อ เด็กหญิง รัตนา ศรีรัตน์ ชั้นม.3/2 เลขที่4
เศรษฐกิจพอเพียง.
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
การค้ามนุษย์ ความหมายของการค้ามนุษย์ สภาพปัญหาของการค้ามนุษย์
การค้ามนุษย์.
จัดทำโดย น.ส. เสาวณี จันทร์แก้ว คพ50.ค5.1
ความสำคัญของจิตสาธารณะ
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
เรื่อง อารมณ์ในวัยเด็ก
Happy 8 8 Boxes of Happiness
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
วิกฤตการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
คุณเป็นคนที่มีอุดมการณ์หรือไม่ ???
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
กระบวนการยุติธรรมสำหรับผู้เยาว์
แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรมของครู
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน บ้านโนนชัย ถนนราษฎร์คนึง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น.
เจาคันธีสถูป อนุสรณ์แสดงว่า พระพุทธองค์ได้เสด็จจากพุทธคยา
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
การจำแนกชนิดผลิตภัณฑ์สุขภาพ
การค้ามนุษย์.
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
3 สิ่งเพื่อชีวิตที่ดีมีคุณค่า (3 Things for Good Life)
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
ระยะเว ลา ประเด็น วิธีการ / ช่องทาง การ ประชาสัมพั นธ์ ผู้รับผิดช อบ ตุลาคม ๒๕๕๗ วันสุขภาพจิตโลก ๑๐ - ประเด็นที่กรมสุขภาพจิตกำหนด ความสุขสร้างได้ด้วยตัวเรา.
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
การใช้อำนาจและอิทธิพล
พลัง อึด ฮึด สู้ อึด...ทนต่อแรงกดดัน วิธีการ : คิดเชิงบวก ควบคุม อารมณ์ ลดความเครียด คลายอารมณ์ ฮึด...มีกำลังใจวิธีการ : self talk , ขอจากคนอื่น , แรงศรัทธา.
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
งาน กำหนดกรอบ บรรยาย เคลื่อนไ หว อาชี พ ชีวิต เป็ น อยู่ ปรากฏความ เปลี่ยนแปลง เป็น ครู ข้าราชการครู พนักงา นรัฐ สอ น แนะ นำ เสนอ แนวคิด กำกับงานของ Stu-
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
เรื่อง ประวัติและความสำคัญ ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
อริยสัจ 4.
แล้วคุณเป็นใคร ?.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
ทุกข์ - ธรรมที่ควรรู้ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ความเศร้าโศกเสียใจ หรือสภาพที่มนุษย์ทนอยู่ได้อยาก เป็นสภาวะทางธรรมชาติที่ควรกำหนดรู้ หัวข้อธรรมที่สนับสนุนในการศึกษา.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
เศรษฐกิจพอเพียง " จะสำเร็จได้ด้วย " ความพอดีของตน " จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ระดับ ปวช 1 กลุ่ม 3 เลขที่ 17 แผนกช่างยนต์ เสนออาจารสมคิด มีมะจำ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชีวิตเป็นกระบวนการ (Process) อันยืดยาว เกิดสืบต่อกันไปตามเหตุตามผล

เปลวชีวิต (flame of life) เปลวเทียนไข สรีระร่างกาย ตัวเทียนไข มันสมอง ไส้เทียนไข อาหาร น้ำ อากาศ ออกซิเจน วิญญาณหรือจิตใจ ความร้อน เชื้อเพลิง (Carbon) + ออกซิเจน + ความร้อน

อาหารที่จำเป็นสำหรับเปลวชีวิต 1. กวฬิงการาหาร อาหารคือข้าว น้ำ เป็นต้น (ส่วนสสารเลี้ยงสสาร) 2. ผัสสาหาร อาหารคือการกระทบระหว่างอายตนะภายในกับภายนอก 3. มโนสัญเจตนาหาร อาหารคือความตั้งใจ จงใจ ปราราถนา (แรงผลักดัน) 4. วิญญาณาหาร อาหารคือวิญญาณ Karmic force อาหาร หมายถึง ปัจจัยที่บำรุงเลี้ยงชีวิตให้เป็นไป

กามโภคีสุข หรือ คิหิสุข (สุขของคฤหัสถ์) 4 อย่าง สุข 2 แบบ 1. ความสุขแสวงวัตถุ (อิงวัตถุ) : อามิสสุข 2. ความสุขไม่แสวงวัตถุ (ไม่อิงวัตถุ) : นิรามิสสุข กามโภคีสุข หรือ คิหิสุข (สุขของคฤหัสถ์) 4 อย่าง 1. อัตถิสุข (สุขเกิดจากความมีทรัพย์) 2. โภคสุข (สุขเกิดจากการใช้จ่ายทรัพย์) 3. อนณสุข (สุขเกิดจากความไม่เป็นหนี้) 4. อนวัชชสุข (สุขเกิดจากความประพฤติไม่มีโทษ)

ทุกข์ 2 แบบ 1. ทุกข์กาย (กายิกทุกข์) 2. ทุกข์ใจ (เจตสิกทุกข์)

หลักการแสวงหาทรัพย์ ประกอบอาชีพในทางที่ชอบ : สัมมาอาชีวะ อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความขยัน (ขยันหา) อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา (รู้จักเก็บ) กัลยาณมิตตตา มีเพื่อนที่ดี สมชีวิตา ใช้ชีวิตสม่ำเสมอ ประกอบอาชีพในทางที่ชอบ : สัมมาอาชีวะ การงานที่ไม่มีโทษ ไม่มีเวรภัยต่อใคร

มิจฉาวณิชชา คือ การค้าขายที่ผิด หรือไม่ชอบธรรม หมายถึง บุคคลไม่ควรค้าขายสิ่งเหล่านี้ ซึ่งถือว่าเป็นอันตรายต่อเพื่อนมนุษย์ต่อสัตว์และต่อสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย สัตถวณิชชา คือ การขายอาวุธ ได้แก่ อาวุธปืน อาวุธเคมี ระเบิด นิวเคลียร์ อาวุธอื่น ๆ เป็นต้น อาวุธเหล่านี้หากมีเจตนาเพื่อทำร้ายกัน จะก่อให้เกิดการทำลายล้างซึ่งกันและกัน โลกจะไม่เกิดสันติสุข สัตตวณิชชา หมายถึง การค้าขายมนุษย์ ได้แก่ การค้าขายเด็ก การค้าทาส ตลอดจนการใช้แรงงานเด็กและสตรีอย่างทารุณ มังสวณิชชา หมายถึง ค้าขายสัตว์ สำหรับฆ่าเพื่อเป็นอาหารเป็นการส่งเสริมให้ทำผิดศีลข้อที่ 1 คือการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต มัชชวณิชชา หมายถึง การค้าขายน้ำเมา ตลอดจนการค้าสารเสพติดทุกชนิด วิสวณิชชา หมายถึง การค้าขายยาพิษ ซึ่งเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ รวมทั้งเป็นอันตรายต่อสัตว์

เว้นทางแห่งความเสื่อม (อบายมุข) ไม่เอาโรงแรมเป็นบ้าน เอาภัตตาคารเป็นครัว อยากได้ แต่ไม่อยากทำ

การบริหารทรัพย์ในพุทธศาสนา ฝากออมสิน ฝังดินไว้ ใช้หนี้เก่า ให้เขากู้ และทิ้งสู่เหว พุทธวิธีบริหาร Buddhist Style in Management

ความสันโดษเป็นยอดแห่งทรัพย์ ยินดีในสิ่งที่มีอยู่ คือ ทำจิตให้พอใจภาวะรอบตัวในปัจจุบันได้ ความสันโดษ คือ เคล็ดลับของความสุข ซ่อนอยู่ในตัวเรา ไม่ต้องไปแสวงหานอกตัวเรา

หลักการบริโภค

สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น

ทุกอย่างที่อยู่นอกเหนือจากความจำเป็น คือ สิ่งฟุ่มเฟือย ฟุ่มเฟือย หมายถึง อุปสงค์สูงเกินกว่าอัตราส่วนของรายได้ ความต้องการ D รายได้ S ทุกอย่างที่อยู่นอกเหนือจากความจำเป็น คือ สิ่งฟุ่มเฟือย

รู้จักลดขนาดความต้องการลง เพื่อความอยู่รอดของครอบครัว สังคมและประเทศชาติ

การบริโภค สิ่งเสพปรนเปรอ สิ่งมีคุณค่า รู้จักบริโภค ฉลาดบริโภค บำบัดความต้องการ การบริโภค สิ่งมีคุณค่า มีประโยชน์

ความต้องการ ไร้ขอบเขตจำกัด ชอบ ไม่ชอบ ความรู้สึก

คุณค่าเทียม การบริโภค คุณค่าแท้

คนโง่ ยึดถือถ้อยคำ จึงได้แต่ความจำอันฉาบฉวย คนฉลาด ดูดซับความหมายของถ้อยคำจึงได้ความเข้าใจอันลึกซึ้ง คุณค่าแท้ คนเจ้าปัญญา กลั่นคุณค่าแห่งความหมายเป็นคุณสมบัติแห่งตน จึงได้พัฒนาการอันยิ่งใหญ่

จริงเช่นนั้น สวัสดี