บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร 119331 หมู่ 1 อ.ณิธิชา ธรรมธนากูล
การแข่งขันในสินค้าอาหาร ช่วยให้มีการดำเนินการทางเศรษฐกิจ และช่วยตอบคำถามพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ช่วยในการกำหนดราคา ซึ่งเป็นตัวจัดสรร การใช้ทรัพยากร เป็นกลไกในการแสวงหากำไรจากแนวโน้มความสนใจของผู้บริโภค เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยี พัฒนาผลิตภัณฑ์ และกลยุทธ์ทางการตลาด และการจัดการองค์กรให้มีต้นทุนต่ำกว่าคู่แข่งขัน
8.1 ประเภทของการแข่งขัน Firm Competition การแข่งขันระหว่างหน่วยธุรกิจ Brand Competition การแข่งขันด้านยี่ห้อสินค้า Interregional Com. การแข่งขันระหว่างจังหวัด International Com. การแข่งขันระหว่างประเทศ Institutional Com. การแข่งขันระหว่างองค์กร Functional Com. การแข่งขันด้านหน้าที่ทางการตลาด Horizontal Com. การแข่งขันแบบแนวนอน Vertical Com. การแข่งขันแบบแนวตั้ง
ในทางเศรษฐศาสตร์แบ่งการแข่งขันตาม พฤติกรรมและโครงสร้างของอุตสาหกรรม ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfect Competition) ตลาดผูกขาด (Monopoly) ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) ตลาดผู้ขายมากราย (Monopolistic Competition)
8.2 ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ภายใต้สภาพการแข่งขันสมบูรณ์ ต้องประกอบด้วย มีจำนวนผู้ขายและผู้ซื้อมาก จนกระทั่งการกระทำของคนใดคนหนึ่งไม่มีอิทธิพลต่อราคา สินค้าไม่มีความแตกต่างกัน ผู้บริโภคไม่ใด้ชอบสินค้าของนาย ก. มากกว่าสินค้าของผู้ขายคนอื่นๆ การเข้า-ออกธุรกิจเป็นไปโดยเสรี ผู้ซื้อและผู้ขายมีความรู้อย่างสมบูรณ์ ผู้ซื้อและผู้ขายเป็น Price Taker
ตลาด หน่วยธุรกิจ ยกตัวอย่างเช่น ผักสดในตลาด ยกตัวอย่างเช่น ผักสดในตลาด สิ่งที่ผู้ผลิตทำได้ เลือกเวลา และสถานที่ที่จะขายได้ 3 D S Si 5 P Y Yi ตลาด หน่วยธุรกิจ
8.3 ตลาดผูกขาด มีลักษณะตรงกันข้ามกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์ Monopoly = มีผู้ขายเพียงรายเดียวในตลาด Monopsony = มีผู้ซื้อเพียงรายเดียวในตลาด ต้องมีการจดสิทธิบัตรในการผลิต ถูกควบคุมโดยรัฐบาลมาก ข้อแตกต่าง ตลาดผูกขาดจะเลือกปริมาณการผลิต และระดับราคาที่ทำให้ได้กำไรสูงสุด แต่ตลาดแข่งขันสมบูรณ์จะเลือกจุดเหมาะสมในการผลิต ณ ระดับราคาที่ได้รับ
8.4 ตลาดผู้ขายน้อยราย มีผู้ขายน้อยราย ผู้นำตลาดเป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อราคา และส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจในด้านปริมาณการผลิต ส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจด้านราคาและปริมาณการผลิตของผู้ผลิตคนอื่นๆ ต้องพิจารณาความสามารถในการแข่งขันของตัวเองค่อนข้างมาก ต้องรู้ว่าควรจะอยู่อย่างไรโดยไม่ท้าทายให้เกิดการแข่งขันมาก หากผู้นำตลาดมีการเปลี่ยนแปลงราคา ผู้ผลิตรายอื่นๆ จะมีการเปลี่ยนแปลงราคาตามทันที การแข่งขัน คือ การแข่งขันที่ไม่ใช่ด้านราคา
Cartels บริษัทค้าขายที่ตกลงร่วมมือกัน อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีการตกลงกันทั้งในเรื่องของราคา ปริมาณ และการแบ่งกำไร
8.5 ตลาดผู้ขายมากราย มีลักษณะกึ่งกลางระหว่างตลาดแข่งขันสมบูรณ์และตลาดผู้ขายน้อยราย มีผู้ขายที่หลากหลาย แต่ไม่มีใครมีอิทธิพลต่อผู้รายอื่นๆ ธุรกิจพยายามแสวงหาการพัฒนาสินค้าและบริการ ให้แตกต่างจากคู่แข่งขัน แต่ในสายตาของผู้บริโภคสินค้าเหล่านี้เหมือนกัน มีความยืดหยุ่นมากเนื่องจากมีสินค้าทดแทนมาก ลักษณะการแข่งขันเช่นเดียวกับตลาดผู้ขายน้อยราย
8.6 Market Structure and Performance ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผลิตจำนวนสินค้า ณ ระดับราคาที่ได้รับ จึงต้องพยายามทำให้ต้นทุนต่ำสุด Greatest operational efficiency Best allocation of resources ตลาดผูกขาด เลือกปริมาณการผลิตได้ เลือกระดับราคาได้ Reduction in operational efficiency Misallocation of resources
8.6 Market Structure and Performance ตลาดผู้ขายมากราย ก่อให้เกิดการด้อยประสิทธภาพจาก 2 กรณี - สินค้าทดแทนกันได้มาก - มีหน่วยธุรกิจรายใหม่เข้ามาตีตลาด ส่งผลให้ประสิทธิภาพทางการตลาดต่ำ ตลาดผู้ขายน้อยราย จะลดประสิทธิภาพทางการตลาดมากขึ้น เนื่องจาก - สินค้ามีความแตกต่างมากขึ้นเรื่อย ๆ - หน่วยธุรกิจรายใหม่เข้ามาประกอบการได้ยากขึ้น
8.7 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร มีลักษณะใกล้เคียงตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ขาดเพียง ผู้ซื้อและผู้ขายไม่มีความรู้อย่างสมบูรณ์ สินค้าไม่มีความแตกต่างกัน สินค้าอาหารและสินค้าเกษตรส่วนใหญ่มีลักษณะตลาดผู้ขายมากราย ลักษณะการแข่งขันไม่ได้แข่งขันในด้านราคา พยายามทำสินค้าให้มีความแตกต่างมากขึ้น