ª Geographic Information System ª ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
วิชาเศรษฐศาสตร์ รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง.
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
ประเภทของระบบสารสนเทศ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
(Global Positioning System)
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
Location Problem.
การประยุกต์แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล เป็นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
EC411 ทฤษฏีและนโยบายการเงิน
ตำบลนาตงวัฒนา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
What Is GIS? GIS เป็นคำย่อจาก Geographic Information System
การบริหารจัดการน้ำและแก้ไขปัญหาอุทกภัยของประเทศ
บทที่ ๖ การวิเคราะห์ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS DATA ANALYSIS)
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การประยุกต์ใช้ GIS ของกทม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
การสำรวจกันเขต เป็นการสำรวจเพื่อกำหนดตำแหน่งทางราบ เพื่อใช้กำหนดแนวเขตของรายละเอียดงานที่ใช้ประโยชน์ทางด้านการชลประทาน สำหรับใช้ประกอบการจัดซื้อที่ดินของโครงการชลประทาน.
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
3.3.2 การวิเคราะห์ การเรียกใช้ข้อมูล และการทำรายงานจากฐานข้อมูล
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การแจกแจงปกติ.
สรุปผลการดำเนินงานฯ ปีงบ 2556
Geographic Information System
โครงการบริหารจัดการข้อมูลที่ดินระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ(Gis) โดยใช้เครือข่าย internet สำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาแจ้ห่ม.
การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศ กับการบริหารศัตรูพืช
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
ร่างรายงานขั้นสุดท้าย (Draft Final Report)
การลงข้อมูลแผนการสอน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การค้นในปริภูมิสถานะ
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
กราฟเบื้องต้น.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
กราฟเบื้องต้น.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ครูธีระพล เข่งวา ข้อมูลของระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ประเภทใดไม่ใช่พื้นที่ที่ นิยมใช้กันมากคืออะไร ก. ตาราง ข. ข่าวสาร ค. รูปกราฟ ง. คำอธิบาย.
Acquisition Module.
การใช้โปรแกรม Arc View 3.1
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ª Geographic Information System ª ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ GIS คือ อะไร ª Geographic Information System ª ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 1

ความหมาย การใช้สมรรถนะของคอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บ และการใช้ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data) เพื่ออธิบายสภาพต่างๆ บนพื้นโลก โดยอาศัย ลักษณะทางภูมิศาสตร์เป็นตัวเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ ระหว่าง ข้อมูลต่างๆ เพื่อให้ได้ สารสนเทศไปใช้ในการสนับสนุนการวางแผนและ การตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ 2

ความหมายของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Information Systems) (Geography) ระบบปฏิบัติการ รวบรวม จัดเก็บ ความสัมพันธ์ระหว่าง วิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นขั้นตอน มนุษย์กับพื้นที่ สามารถค้นคืนได้ ใช้ประกอบ การตัดสินใจของผู้บริหาร 3

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จัดการข้อมูลเชิงพื้นที่ จัดการข้อมูลเชิงคุณลักษณะ ระบบปฏิบัติการในการวิเคราะห์ข้อมูล นำข้อสนเทศที่ได้นำไปใช้ประโยชน์ในการ ตัดสินใจ ระบบสารสนเทศที่ออกแบบเพื่อใช้รวบรวม จัดเก็บ วิเคราะห์ข้อมูล ภูมิศาสตร์ การค้นคืนข้อมูลและการแสดงผล 4

ความเป็นมาของระบบสารสนเทศภูมศาสตร์ GIS ของประเทศแคนาคา เป็นระบบแรกของโลก -ด้านการเกษตร รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลที่ดิน เพื่อหาที่ดินที่ไม่เหมาะสมต่อการเกษตร การใช้งานในช่วงแรก -การวางแผนจัดการทรัพยากรธรรมชาติ -ใช้แนวคิดในการวางซ้อน (Overlay) -ระบบสารสนเทศที่ดิน (Land Information Systems, LIS) 5

องค์ประกอบในการพัฒนาระบบ GIS z เทคโนโลยีการผลิตแผนที่ z คอมพิวเตอร์ z การวิเคราะห์เชิงพื้นที่ z ฐานข้อมูล z บุคลากร ระบบอัตโนมัติอย่างสมบูรณ์ 6

GIS ใช้ทำอะไรได้บ้าง ? จัดเก็บ จัดการ วิเคราะห์ แสดงผล ข้อมูลทางภูมศาสตร์ 7

องค์ประกอบของระบบ GIS ARC/IN FOไ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล ฮารด์แวร์ GIS บุคลากร กระบวนการวิเคราะห์

ขั้นตอนของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เก็บรวบรวมข้อมูล วางแผน นำเขาข้อมูล ข้อมูลกราฟฟิก ข้อมูลลักษณะสัมพันธ์ ปรับแก้ข้อมูล จดเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แสดงผล นำไปใช้ในการตัดสินใจ 9

ฐานข้อมูลเชิงภูมิศาสตร์ GIS เกิดจากการเชื่อมโยงของระบบการจัดการ ฐานข้อมูล 2 สวน คือ ☺ ฐานข้อมูลเชิงพื่นที่ หรอ ฐานข้อมูลกราฟิก (Spatial or graphic database) ☺ ฐานข้อมูลคุณลักษณะ (Attribute database) 10

ฐานข้อมูล GIS การเชื่อมโยงฐานข้อมูล Attribute Data Spatial Data 11

ฐานข้อมูล GIS พื่นที่ = 204.56 ตร.กม. ประชากร = 20,000 คน พื่นที่เพาะปลูก = นาข้าว : : : Attribute Spatial or Graphic 12

ถนน GIS Features on Real World Aerial Photo สถานที่สำคัญ แหล่งน้ำอาคาร 13

โครงสร้างของข้อมูล GIS Vector Format Raster Format 14

15

การเก็บข้อมูลแบบ Vector X1 ,Y1 • เก็บข้อมูลในรูปแบบของ X2 ,Y2 ข้อมูลเชิงเส้น (Vector) X3 ,Y3 • ขอมูลแต่ละเส้นมีตําแหน่ง X5 ,Y5 X4 ,Y4 ค่าพิกัดของจุดต่างๆ X6 ,Y6 • เหมาะสําหรับการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงเครื่อข่าย (Network Analysis) 16

การเก็บข้อมูลแบบ Raster • เก็บข้อมูลในรูปแบบของ X, Y ข้อมูลเชิงจุด (Cell-based) ในตารางกริต (GRID) • แต่ละช่องใช้เก็บค่าของ ข้อมูลเรียกว่า Pixel • เหมาะสําหรับการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงพื่นที่ (Spatial Analysis) 17

ข้อมูลทั้งสองรูปแบบสามารถแปลงไปมาได้ Raster Vector 18

GIS Data = Graphics + Attributes Feature Examples Graphic Data Attribute Data จด - เสา - ความสูงของเสา - หม้อแปลง Point - Rating KVA - สวิทช์ - สถานะของสวิทช์ เสน - ถนน - ประเภทของถนน Arc - สายไฟ - ขนาดของสายไฟ พนท - เขตอําเภอ - จํานวนประชากร Polygon - แหล่งน้ำ - ประเภทแห่ลงน้ำ 19

เปรียบเทียบโครงสร้างข้อมูลเชิงพื่นที่ แบบ Raster และ Vector ลักษณะการทํางาน Raster Vector การรวบรวมข้อมูล เร็ว ช้า ความคมชัด ปานกลาง ดี โครงสร้างข้อมูล ง่าย ซับซ้อน ความละเอียดเชิงเรขาคณิต ต่ำ สูง การวิเคราะห์แบบโครงข่าย เลว ดี การวิเคราะห์เชิงพื่นที่ ดี ปานกลาง การวางนัยทั่วไป ง่าย ซับซ้อน 20

การจัดเก็บข้อมูลโดยการดิจิไทซ์ (Digitization) 21

การจัดเก็บข้อมูลโดยการสแกน (Scanner) Vectorization 22

การจัดเก็บข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีทาง Remote Sensing Image Processing 23

Technology ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล Global Positioning System (GPS) 24

+ + การสร้างข้อมูล GIS DIGITAL Paper Maps Film/ Images Data Conversion Tabulation GIS Database 25

การนำาเข้าข้อมูลและการแปลงข้อมูล การดจไทซ การสำารวจภาคสนาม แผนที่ หรือ ข้อมูลจากการ ภาพถ่ายทางอากาศ สำรวจภาคสนาม ฐานข้อมูล GIS 26

การจัดเก็บข้อมูลใน GIS สาธารณูปโภค อาคาร สถานที่ การคมนาคม อุทกวิทยา ภูมิประเทศ สถานที่จริง 1120 1123 สภาพพื้นที่จรืง 27

การวิเคราะห์ข้อมูล GIS การซ้อนทับข้อมูลเชิงพื้นที่ การวิเคราะห์โครงข่าย Network (Overlay) Analysis การวิเคราะห์พื้นผิว GIS Data (Surface Analysis) Model Cartographic Output zการทำพื้นที่กันชน การสร้างภาพเสมือน z (Buffer) Visualization 28

การทำพื้นที่กันชน (Buffer) 2

การซ้อนทับข้อมูลเชิงพื้นที่ (Overlay) 30

การวิเคราะห์ซ้อนทับพื้นที่ (Spatial Overlay Analysis) C B D A B-2 C-2 B-1 E D-2 พนทเพาะปลก A-1 D-3 A-3 E-3 2 1 การเพาะปลกพชในพนทจงหวดตางๆ 3 เขตจงหวด 31

32

GIS : Geographic Information System RS : Remote Sensing GPS: Global Positioning System Geo-Informatics: เทคโนโลยภูมิสารสนเทศ (3 เอส) 33

การวิเคราะห์พื้นผิว (Surface Analysis) 34

การผสมผสานข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียม กับข้อมูลชั้นความสูงเพื่อสร้าง visualization 3

การวิเคราะห์ระบบเครือข่าย (Network Analysis) B 12 กม. 15 กม. A การค้นหาเส้นทางที่สั้นที่สุด 36

การประยุกต์การใช้งาน GIS ใชสอบถามขอมล (Data Query) 37

การค้นหาตำแหน่งวัตถุแบบ Real-time Automatic Vehicle Locating System 38

39

40

การผลิตแผนที่ (Cartography) 41

GIS ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ การเลือกพื้นที่ การวางแผน การเลือกเส้นทาง การกำหนดนโยบาย 42

GIS Application งานที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ zคนขับรถเลือกเส้นทางที่ใช้เวลาน้อยที่สุด zลกคาตัดสินใจซื้อบ้านโดยด้ทำเลที่ตั้งประกอบ zวิศวกรออกแบบวางแนวถนน zห้างสรรพสินค้าหาที่เปิดสาขาใหม่ zการกำหนดแบ่งพื้นที่เขตเลือกตั้ง zเทศบาลหาที่ทิ้งขยะ zกำหนดเขตลักษณะการใช้ที่ดิน 43

EnvironmentalPlanning z Ecological Development/Ecosystem Analysis z Environmental Impact Assessment z Development Scenario Preparation z Land Use Planning 44

Military Base Closure: Hazardous Materials Remediation 45

Environmental Impact Study 46

3D Infrastructure and Geology Visualization 47

Land Use Planning zการกำหนดขอบเขตและประเภทการใช้ที่ดินได้ชัดเจนและ แม่นยำ zเปรียบเทียบทางเลือกในการใช้ที่ดิน zติดตาม ตรวจสอบการเปลียนแปลงในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็วและ มีประสิทธิภาพ zนำไปประยุกต์ใช้ในเรื่องอื่นๆ ได้ - การวางแผนการใช้ที่ดินบริเวณลมนาลาพระเพลิง โดยการ สร้างแบบจำลองเชิงพื้นที่ - การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อกำหนดพื้นที่คุ้มครอง สิ่งแวดล้อม กรณีศึกษาพื้นที่ลุ่มน้ำอ่างเก็บน้ำดอกกราย หนองปลา ไหลและคลองใหญ่ อ.ปลวกแดง จ.ระยอง 48

z การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศเพื่อกู้วิกฤตสิ่งแวดล้อมและพบตภัย ธรรมชาติ z การประยุกต์ระบบ GIS และ RS เพื่อประเมินความเสี่ยงจาก น้ำท่วมในประเทศไทย: กรณีศึกษาในลุ่มน้ำป่าสัก z กรณีศึกษาในเบื้องต้น ถึงสาเหตุการเกิดน้ำท่วมและโดนถล่ม ฉับพลัน บริเวณตำบลนากอ อำเภอหล่มสัก จงหวดเพชรบูรณ์ เพื่อเป็นใช้เป็นแนวทางในการป้องกันภัยในระยะยาวจากการเกิด น้ำท่วมและโดนถล่มฉับพลัน บริเวณตำบลนากอ และบริเวณอื่นๆ ในประเทศไทย 49

Mapping a Better Future for Elephants 50

Urban/Rural Planning z Land use Analysis z Property Management/Land Management/Land Settlement 51

Community Development z Emergency Dispatch z Housing z Home Delivery 52

z Fair Taxation z Evacuation z Schools z Water and Sewer 53

z Recycling z Public Health z Crime 54

Agriculture 55

Utilities/Infrastructure Development 56

E-Government 57

58

บทสรุปของ GIS GIS ไม่ใช่ ภาพ หรือ แผนที่ แต่เป็น ฐานข้อมูล ดังนั้น ฐานข้อมูล(Database) จึงเป็นศูนย์กลางหลักของ GIS ด้วยเหตุนี้ การทำแผนที่ด้วย GIS จึงไม่เหมือนกับการทำ แผนที่ด้วยคอมพิวเตอร์โดยทั่วไป 59

การบ้าน ให้นักเรียนไปศึกษาข้อมูลการประยุกต์ใช้งาน เทคโนโลยี Remote sensing และ GIS ในด้าน ต่างๆ มา เช่น เรื่อง การประยุกต์ใช้ข้อมูลจากการสำรวจระยะไกล และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในการติดตามการ เปลี่ยนแปลงของพื้นที่ป่าชายเลน จังหวัดสมทุรสาคร (คนละ 1 เรื่อง: ความยาวไม่เกิน 1-1.5 หน้า) 60