กิจการนิสิต (Student Affairs) ความหมายโดยทั่วไป คำว่า “กิจการ” แปลว่า งานที่ประกอบ หรือ ธุระ กิจการนิสิต หมายถึง ธุระที่เกี่ยวกับนิสิต อันประกอบด้วย กิจการ บริการและกิจกรรม ที่ไม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนโดยตรงในชั้นเรียน ซึ่งมหาวิทยาลัยจัดขึ้นเพื่อให้นิสิตได้รับประโยชน์สูงสุดตลอดเวลาที่เป็นนักศึกษา
ความหมายทางการบริหาร กิจการนิสิต เป็นงานที่อธิการบดีมอบหมายให้รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิต รับผิดชอบบริหาร เพื่อให้นิสิตมีความพร้อมในการศึกษา และส่งเสริมให้นิสิตมีพัฒนาการในด้านต่างๆ อย่างสมบูรณ์
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อดำเนินกิจกรรมสำคัญของมหาวิทยาลัย 2. เพื่อช่วยให้นิสิตมีความพร้อมในการศึกษา 3. เพื่อช่วยพัฒนานิสิต 4. เพื่อเสริมสร้างบรรยากาศของมหาวิทยาลัย 5. เพื่อช่วยมหาวิทยาลัยทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม
ประวัติ เริ่มต้นที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 GI BILL
ขอบข่ายของกิจการนิสิต การสรรหา การคัดเลือกและรับสมัครนักศึกษา (Admission) โดยเฉพาะโครงการพิเศษบางโครงการ การปฐมนิเทศให้นักศึกษาใหม่ (Orientation) ระเบียบนักศึกษา (Student Records) บริการหอพักและอาหาร (Housing and Food Services) บริการอนามัย (Health Services)
ขอบข่ายของกิจการนิสิต (ต่อ) 6. กิจกรรมนักศึกษา (Student Activities) 7. บริการสอนซ่อมเสริม (Remedial Services) 8. ทุนการศึกษา (Financial Aids) 9. บริการแนะแนว (Guidance Services) 10. บริการจัดหางาน (Placement Services)
ขอบข่ายของกิจการนิสิต (ต่อ) 11. วินัยนักศึกษา (Student Discipline) 12. โปรแกรมเพื่อช่วยพัฒนานักศึกษา (Program of Student Development) 13. การวิจัย และการประเมินกิจการนักศึกษา (Research and Evaluation in Student Affairs) 14. ศิษย์เก่าสัมพันธ์ (Alumni Relations) 15. บริการนักศึกษาต่างชาติ (Service for Foreign Student)
ความสำคัญ ช่วยให้การผลิตบัณฑิตของมหาวิทยาลัยมีประสิทธิภาพ ช่วยมหาวิทยาลัยทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ของชาติ
การพัฒนานิสิต (Student Development) ความหมาย การพัฒนานิสิต หมายถึง ความพยายามใดๆ ของมหาวิทยาลัยที่ส่งเสริมให้นิสิตมีพัฒนาการในด้านต่างๆ ให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
เป้าหมายในการพัฒนานิสิต 1. ด้านวิชาการและวิชาชีพ 2. ด้านสติปัญญา 3. ด้านสังคม 4. ด้านอารมณ์ 5. ด้านเอกลักษณ์ 6. ด้านร่างกาย 7. ด้านคุณธรรม
ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนานิสิต 1. ด้านการบริหาร 2. ด้านวิชาการ 3. ด้านกิจการนิสิต 4. ด้านบุคลากร 5. ด้านงบประมาณ 6. ด้านนิสิต 7. ด้านสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
หลักการพัฒนานิสิต 1. การพัฒนามนุษย์เป็นกระบวนการที่ ต่อเนื่องและสะสม 2. การพัฒนาเกิดขึ้นในลักษณะที่ง่ายไปสู่ ลักษณะที่ยุ่งยาก และมีความสลับซับซ้อน 3. การพัฒนาเป็นไปตามลำดับและขั้นตอน ของการพัฒนา 4. นิสิตมีความแตกต่างกัน
หลักการพัฒนานิสิต (ต่อ) 5. ช่วงเวลาที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัย 6. โปรแกรมการพัฒนานิสิต 7. สภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนานิสิต 8. ต้องพัฒนานิสิตให้มีความสมบูรณ์ทุกด้าน 9. สอนให้นิสิตรับผิดชอบตนเองในการเข้าร่วมพัฒนา
ทฤษฎีการพัฒนานิสิต 1. รูปแบบกระบวนการพัฒนานิสิต 2. กลุ่มทฤษฎีพัฒนาความรู้ความเข้าใจ 3. กลุ่มทฤษฎี จิต - สังคม 4. กลุ่มทฤษฎี สัญลักษณ์
วิธีการพัฒนานิสิต *การพัฒนาร่างกาย 1. ช่วงอายุ 2. อาหาร 3. การออกกำลังกาย 4. การพักผ่อน 5. การป้องกัน รักษา พัฒนา
การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ด้านการบริหาร - กำหนดนโยบาย - แต่งตั้งคณะกรรมการคุณธรรม - จัดทำแผนโครงการงบประมาณ - อบรมผู้บริหารและอาจารย์ - กำหนดคุณธรรมเป้าหมาย - จัดสภาพแวดล้อม
ด้านการสอน. - จรรยาบรรณวิชาชีพ. - วิชาเฉพาะ. - สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม ด้านการสอน - จรรยาบรรณวิชาชีพ - วิชาเฉพาะ - สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม - จัดสื่อที่เหมาะสม - วิจัยเพื่อพัฒนาวิธีการสอน
ด้านการจัดกิจกรรม. - ฝึกอบรม. - กิจกรรมนิสิต. - หาบุคคลที่เป็นแบบอย่าง ด้านการจัดกิจกรรม - ฝึกอบรม - กิจกรรมนิสิต - หาบุคคลที่เป็นแบบอย่าง - เพิ่มชมรมกิจกรรมด้านบำเพ็ญประโยชน์ - กำหนดให้นิสิตบำเพ็ญประโยชน์ภาคเรียน ละ 10 ชั่วโมง
ด้านการสร้างเครือข่าย. ขยายเครือข่าย ผู้ปกครอง ชุมชน วัด และ ด้านการสร้างเครือข่าย *ขยายเครือข่าย ผู้ปกครอง ชุมชน วัด และ ศูนย์คุณธรรม ด้านการประเมินผลการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม - สร้างแบบประเมินการจัดกิจกรรม - ขอใช้แบบประเมินคุณธรรมจากศูนย์ คุณธรรม - ประเมินผลโดยใช้หลากหลายวิธี