การประเมินสภามหาวิทยาลัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
อำนาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย เป็นไปตาม ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ. ศ
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ปฏิทินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยฯ
การประกันคุณภาพการศึกษา
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
มาตรฐานการศึกษา วีระ อุสาหะ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การจดรายงานการประชุม
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
หลักเกณฑ์การจัดตั้งสถาบัน การอาชีวศึกษา
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
งานธุรการ กองการบริหารงานบุคคล
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การดำเนินงานโครงการ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ การประเมิน จาก ภายนอก รอบสาม ของ สพป. กาญจนบุรี เขต ๑.
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
๔. ด้านการพัฒนาบุคลากร ของสถานศึกษา.
๑. ด้านบริหารจัดการสถานศึกษา
วันศุกร์ที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
บทบาทนายหมายเลข ๑ ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหาร ผู้นำ ผู้ประสานงาน.
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2
สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และ วิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อ.
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินสภามหาวิทยาลัย โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ ผู้อำนวยการ สมศ. วันที่ 26 มิถุนายน 2556 ณ โรงแรมสุโกศล กรุงเทพฯ

สภามหาวิทยาลัย ทำไมต้องประเมิน ประเมินอะไร ประเมินอย่างไร

ปรัชญา ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สหัสวรรษแห่งคุณภาพ ปรัชญา ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สหัสวรรษแห่งคุณภาพ Breaking Barriers Towards a Millennium of Quality ปณิธาน ประเมินเพื่อพัฒนา......อย่างต่อเนื่อง Assessing for Continual Improvement วิสัยทัศน์ คงความเชี่ยวชาญขององค์กร เพิ่มความเชื่อมั่น ของประชาคม สร้างความเชื่อใจให้ประชาชน ONESQA’s Maintaining Competency, Increasing Creditability, and Enhancing Public Confidence

นโยบาย หมื่นมิตร พันธกิจ ประเมินคุณภาพและ รับรองมาตรฐานการจัดการศึกษา พันธกิจ ประเมินคุณภาพและ รับรองมาตรฐานการจัดการศึกษา Assessing and Accrediting the Quality of Educational Institutions นโยบาย หมื่นมิตร

รับผิดชอบต่อสังคม Social Responsibility ก้าวข้ามขีดจำกัด Overcome Limitations คิดสร้างสรรค์ Nurture Creativity ขับเคลื่อนจริยธรรม Enhance Ethics รับผิดชอบต่อสังคม Social Responsibility สำนึกคุณภาพ Quality Awareness องค์กรกัลยาณมิตร Amicable Agency 5

หลักการ ประเมินเพื่อพัฒนา....... อย่างต่อเนื่อง

รอบ 1 รอบ 2 รอบ 3 อุดมศึกษา 28 ตบช. 8 มฐ. 48 ตบช. 7 มฐ. 18 ตบช. 4 มฐ. อาชีวศึกษา 30 ตบช. 25 ตบช. 6 มฐ. ขั้นพื้นฐาน 53 ตบช. 14 มฐ. 65 ตบช. 12 ตบช.

ตัวบ่งชี้ ๓ มิติ มาตรการเทียบเคียง ๑ ๒ ๓ ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ ส่งเสริม ตัวบ่งชี้ พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ อัตลักษณ์ มาตรการเทียบเคียง

ประเด็น / สาระสำคัญ

คุ้มค่า/คุณค่า งบประมาณ อาคาร สถานที่ เครื่องมือ ยานพาหนะ บุคลากร ฯลฯ

ความปลอดภัย ชีวิต / จิตวิญญาณ ทรัพย์สิน สิ่งแวดล้อม ฯลฯ

ความรับผิดชอบ การบริการตามปรัชญา / วัตถุประสงค์ ความพร้อมในการให้บริการ ความเชี่ยวชาญในสาขา ความจำเป็นของสังคม ฯลฯ

ความทันสมัย ความเป็นไทย / สากล ความพร้อม สู่ ASEAN Community ความเป็นผู้นำในระดับนานาชาติ ฯลฯ

ความดี การปฏิบัติตามกฏระเบียบ การธำรงไว้ซึ่งจรรยาบรรณ การป้องกัน แก้ไข ปัญหา การไม่เอาเปรียบสังคม ฯลฯ

ความเกื้อกูล / ความร่วมมือ ภายใน / ระหว่างสถาบัน ภาครัฐ / เอกชน (ภาคอุตสาหกรรม) ระดับเดียวกัน / ต่างระดับ ใน / ระหว่าง ประเทศ ฯลฯ

ความสมเหตุ สมผล IQA-EQA ระหว่างตัวบ่งชี้ การบริหาร-คุณภาพบัณฑิต ฯลฯ

ความต่อเนื่อง อดีต / ปัจจุบัน / อนาคต การดำเนินการ ฯลฯ

การมีส่วนร่วม นิสิต / นักศึกษา อาจารย์ / บุคลากร ผู้บริหาร / กรรมการ ผู้ปกครอง ชุมชน ฯลฯ

ความคิดสร้างสรรค์ ความริเริ่ม ความหลากหลาย ฯลฯ

สภามหาวิทยาลัย: ความรับผิดชอบเชิงนโยบาย คุณภาพ งานวิจัย / สร้างสรรค์ คุณภาพ บัณฑิต คุณภาพ งานวิจัย / สร้างสรรค์ คุณภาพ การบริการวิชาการ คุณภาพ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม คุณภาพ การบริหาร คุณภาพ กรรมการสภา อัตลักษณ์ / เอกลักษณ์ / มาตรการส่งเสริม ฯลฯ

(ร่าง) ตัวบ่งชี้การประเมินกรรมการสภามหาวิทยลัย ประเด็นหลัก ประเด็นย่อย เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ๑.โครงสร้าง ๑.๑ มีสำนักงานสภาฯ/เทียบเท่า - มีรองอธิการบดี/ผู้บริหารระดับสูงที่ได้รับมอบหมายทำหน้าที่เป็นเลขานุการสภาฯ - มีมติ/คำสั่งจัดตั้ง/มอบหมายให้มีกรรมการสภาฯ - มีฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องและเพียงพอในการดำเนินงานของสำนักงานฯ - มีบุคลากรปฏิบัติหน้าที่เป็นการเฉพาะ ๑.๒ สภาฯ ปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่ตามที่ระบุไว้ใน พรบ./กฎหมายของมหาวิทยาลัย - มีฐานข้อมูล (การปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่ตามที่ระบุไว้ใน พรบ./กฎหมายของมหาวิทยาลัย) - ปฏิบัติตามอำนาจ/หน้าที่ และกฎหมาย

เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ประเด็นหลัก ประเด็นย่อย เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ๑.๓ มีคณะกรรมการของสภาฯ - มีคณะกรรมการที่สภาฯ แต่งตั้งเพื่อทำหน้าที่ด้านวิชาการ การบริหารงานบุคคล การตรวจสอบ/การบริหารความเสี่ยง การเงิน/ทรัพย์สิน การร้องทุกข์ ด้านการพัฒนานักศึกษา ๑.๔ เกณฑ์การได้มาซึ่งกรรมการสภาฯ - หลักเกณฑ์/กระบวนการ/องค์ประกอบในการสรรหากรรมการสภามหาวิทยาลัย

เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ประเด็นหลัก ประเด็นย่อย เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ๒. การประชุม ๒.๑ คณะกรรมการสภาฯ เข้าประชุม (โดยเฉลี่ย) อย่างน้อย ๗๕ % สรุปจำนวนการเข้าประชุมของ คณะกรรมการสภาฯ และค่าเฉลี่ย ๒.๒ กำหนดการประชุมล่วงหน้า แผน/ตารางการประชุม ๒.๓ ส่งเอกสารประชุมล่วงหน้า (โดยเฉลี่ย) อย่างน้อย ๗ วัน สารบรรณการรับ-ส่งเอกสารการประชุมไปยังกรรมการสภาฯ

เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ประเด็นหลัก ประเด็นย่อย เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ๓.คุณลักษณะและพฤติกรรมของคณะ กรรมการ ๓.๑ ผู้ทรงคุณวุฒิที่เหมาะสม/สอดคล้องกับการบริหาร/พัฒนามหาวิทยาลัย แฟ้มบรรจุประวัติของกรรมการสภาฯ ที่สรุปถึงความครอบคลุมตามอัตลักษณ์/เอกลักษณ์ของสถาบัน ๓.๒ การอบรม/ปฐมนิเทศกรรมการสภาฯ (ภายในสถาบัน) ๑. การอบรมที่มหาวิทยาลัยจัด โดยเป็นไปตามหลักสูตรที่ได้มาตรฐานและสอดคล้องกับภารกิจของสถาบัน โดยระบุระยะเวลา หัวข้อ วิทยากร เอกสารการอบรม และผลการประเมินการเข้ารับการอบรม ๒. มีคู่มือการปฏิบัติงานของกรรมการสภาฯ ที่มีหัวข้อดังนี้ ๑) โครงสร้างของสภาฯ (จำนวนของคณะกรรมการ องค์ประกอบของกรรมการสภาฯ ที่มาของการเป็นสมาชิก วาระการเป็นสมาชิก

เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ประเด็นหลัก ประเด็นย่อย เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ๒) บทบาทหน้าที่ของกรรมการสภามหาวิทยาลัย เช่น ความรับผิดชอบต่อสังคม การจัดการด้านการเงินและทรัพย์สิน การบริหารความเสี่ยง การบริหารงานบุคคล และการกำกับการจัดการศึกษา ๓) กฏหมายและวิธี ปฏิบัติที่กรรมการสภามหาวิทยาลัยควรทราบ ๔) จรรยาบรรณของสภามหาวิทยาลัย เช่น การไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน ฯลฯ ๕) การประเมินผลการปฏิบัติงานของสภาฯ ที่ครอบคลุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ประเด็นหลัก ประเด็นย่อย เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ๓.๓ การอบรม/ปฐมนิเทศกรรมการสภาฯ (ภายนอกสถาบัน) ๑) IOD หรือ ๒) สถาบันพระปกเกล้า หรือ ๓) สถาบันคลังสมอง หรือ ๔) การอบรมโดย สมศ. / สกอ./ สสมท. ๓.๔ มีการประเมินอย่างเป็นระบบ - ระบบการประเมินกรรมการสภาฯ ของสถาบัน ๓.๕ มีการกำหนดจรรยาบรรณของสภาฯ - ข้อกำหนดด้านจรรยาบรรณของกรรมการสภาฯ - รายงานประจำปีของกรรมการสภาฯ

แบบทดสอบ 1. ชื่อมหาวิทยาลัย....................................................................... ปรัชญา..............ปณิธาน.................วิสัยทัศน์..............พันธกิจ............... อัตลักษณ์..................เอกลักษณ์.................มาตรการส่งเสริม................... 2. ให้บริการ สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ............คณะ สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ ............คณะ สาขาสังคมศาสตร์ ............คณะ สาขามนุษยศาสตร์ ............คณะ 3. ให้บริการนอกที่ตั้ง......................แห่ง สาขา.......................... 4. จำนวนอาจารย์................คน วุฒิ ป.ตรี ร้อยละ..................... วุฒิ ป.โท ร้อยละ..................... วุฒิ ป.เอก ร้อยละ.....................

5. จำนวน ผศ. ร้อยละ................ รศ. ร้อยละ................ ศ. ร้อยละ................ 6. จำนวนนักศึกษา..........................คน 7. สัดส่วน อาจารย์ : นักศึกษา คือ ................ : …………… 8. จำนวนผลงานวิจัย และผลงานทางวิชาการ.....................ชิ้น / ปี 9. ผลประเมิน IQA # คะแนนที่ได้........................... # ระดับคุณภาพ........................ 10. ผลประเมิน EQA # คะแนนที่ได้...........................

ส วั ส ดี