การประเมินสภามหาวิทยาลัย โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ ผู้อำนวยการ สมศ. วันที่ 26 มิถุนายน 2556 ณ โรงแรมสุโกศล กรุงเทพฯ
สภามหาวิทยาลัย ทำไมต้องประเมิน ประเมินอะไร ประเมินอย่างไร
ปรัชญา ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สหัสวรรษแห่งคุณภาพ ปรัชญา ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สหัสวรรษแห่งคุณภาพ Breaking Barriers Towards a Millennium of Quality ปณิธาน ประเมินเพื่อพัฒนา......อย่างต่อเนื่อง Assessing for Continual Improvement วิสัยทัศน์ คงความเชี่ยวชาญขององค์กร เพิ่มความเชื่อมั่น ของประชาคม สร้างความเชื่อใจให้ประชาชน ONESQA’s Maintaining Competency, Increasing Creditability, and Enhancing Public Confidence
นโยบาย หมื่นมิตร พันธกิจ ประเมินคุณภาพและ รับรองมาตรฐานการจัดการศึกษา พันธกิจ ประเมินคุณภาพและ รับรองมาตรฐานการจัดการศึกษา Assessing and Accrediting the Quality of Educational Institutions นโยบาย หมื่นมิตร
รับผิดชอบต่อสังคม Social Responsibility ก้าวข้ามขีดจำกัด Overcome Limitations คิดสร้างสรรค์ Nurture Creativity ขับเคลื่อนจริยธรรม Enhance Ethics รับผิดชอบต่อสังคม Social Responsibility สำนึกคุณภาพ Quality Awareness องค์กรกัลยาณมิตร Amicable Agency 5
หลักการ ประเมินเพื่อพัฒนา....... อย่างต่อเนื่อง
รอบ 1 รอบ 2 รอบ 3 อุดมศึกษา 28 ตบช. 8 มฐ. 48 ตบช. 7 มฐ. 18 ตบช. 4 มฐ. อาชีวศึกษา 30 ตบช. 25 ตบช. 6 มฐ. ขั้นพื้นฐาน 53 ตบช. 14 มฐ. 65 ตบช. 12 ตบช.
ตัวบ่งชี้ ๓ มิติ มาตรการเทียบเคียง ๑ ๒ ๓ ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ ส่งเสริม ตัวบ่งชี้ พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ อัตลักษณ์ มาตรการเทียบเคียง
ประเด็น / สาระสำคัญ
คุ้มค่า/คุณค่า งบประมาณ อาคาร สถานที่ เครื่องมือ ยานพาหนะ บุคลากร ฯลฯ
ความปลอดภัย ชีวิต / จิตวิญญาณ ทรัพย์สิน สิ่งแวดล้อม ฯลฯ
ความรับผิดชอบ การบริการตามปรัชญา / วัตถุประสงค์ ความพร้อมในการให้บริการ ความเชี่ยวชาญในสาขา ความจำเป็นของสังคม ฯลฯ
ความทันสมัย ความเป็นไทย / สากล ความพร้อม สู่ ASEAN Community ความเป็นผู้นำในระดับนานาชาติ ฯลฯ
ความดี การปฏิบัติตามกฏระเบียบ การธำรงไว้ซึ่งจรรยาบรรณ การป้องกัน แก้ไข ปัญหา การไม่เอาเปรียบสังคม ฯลฯ
ความเกื้อกูล / ความร่วมมือ ภายใน / ระหว่างสถาบัน ภาครัฐ / เอกชน (ภาคอุตสาหกรรม) ระดับเดียวกัน / ต่างระดับ ใน / ระหว่าง ประเทศ ฯลฯ
ความสมเหตุ สมผล IQA-EQA ระหว่างตัวบ่งชี้ การบริหาร-คุณภาพบัณฑิต ฯลฯ
ความต่อเนื่อง อดีต / ปัจจุบัน / อนาคต การดำเนินการ ฯลฯ
การมีส่วนร่วม นิสิต / นักศึกษา อาจารย์ / บุคลากร ผู้บริหาร / กรรมการ ผู้ปกครอง ชุมชน ฯลฯ
ความคิดสร้างสรรค์ ความริเริ่ม ความหลากหลาย ฯลฯ
สภามหาวิทยาลัย: ความรับผิดชอบเชิงนโยบาย คุณภาพ งานวิจัย / สร้างสรรค์ คุณภาพ บัณฑิต คุณภาพ งานวิจัย / สร้างสรรค์ คุณภาพ การบริการวิชาการ คุณภาพ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม คุณภาพ การบริหาร คุณภาพ กรรมการสภา อัตลักษณ์ / เอกลักษณ์ / มาตรการส่งเสริม ฯลฯ
(ร่าง) ตัวบ่งชี้การประเมินกรรมการสภามหาวิทยลัย ประเด็นหลัก ประเด็นย่อย เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ๑.โครงสร้าง ๑.๑ มีสำนักงานสภาฯ/เทียบเท่า - มีรองอธิการบดี/ผู้บริหารระดับสูงที่ได้รับมอบหมายทำหน้าที่เป็นเลขานุการสภาฯ - มีมติ/คำสั่งจัดตั้ง/มอบหมายให้มีกรรมการสภาฯ - มีฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องและเพียงพอในการดำเนินงานของสำนักงานฯ - มีบุคลากรปฏิบัติหน้าที่เป็นการเฉพาะ ๑.๒ สภาฯ ปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่ตามที่ระบุไว้ใน พรบ./กฎหมายของมหาวิทยาลัย - มีฐานข้อมูล (การปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่ตามที่ระบุไว้ใน พรบ./กฎหมายของมหาวิทยาลัย) - ปฏิบัติตามอำนาจ/หน้าที่ และกฎหมาย
เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ประเด็นหลัก ประเด็นย่อย เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ๑.๓ มีคณะกรรมการของสภาฯ - มีคณะกรรมการที่สภาฯ แต่งตั้งเพื่อทำหน้าที่ด้านวิชาการ การบริหารงานบุคคล การตรวจสอบ/การบริหารความเสี่ยง การเงิน/ทรัพย์สิน การร้องทุกข์ ด้านการพัฒนานักศึกษา ๑.๔ เกณฑ์การได้มาซึ่งกรรมการสภาฯ - หลักเกณฑ์/กระบวนการ/องค์ประกอบในการสรรหากรรมการสภามหาวิทยาลัย
เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ประเด็นหลัก ประเด็นย่อย เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ๒. การประชุม ๒.๑ คณะกรรมการสภาฯ เข้าประชุม (โดยเฉลี่ย) อย่างน้อย ๗๕ % สรุปจำนวนการเข้าประชุมของ คณะกรรมการสภาฯ และค่าเฉลี่ย ๒.๒ กำหนดการประชุมล่วงหน้า แผน/ตารางการประชุม ๒.๓ ส่งเอกสารประชุมล่วงหน้า (โดยเฉลี่ย) อย่างน้อย ๗ วัน สารบรรณการรับ-ส่งเอกสารการประชุมไปยังกรรมการสภาฯ
เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ประเด็นหลัก ประเด็นย่อย เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ๓.คุณลักษณะและพฤติกรรมของคณะ กรรมการ ๓.๑ ผู้ทรงคุณวุฒิที่เหมาะสม/สอดคล้องกับการบริหาร/พัฒนามหาวิทยาลัย แฟ้มบรรจุประวัติของกรรมการสภาฯ ที่สรุปถึงความครอบคลุมตามอัตลักษณ์/เอกลักษณ์ของสถาบัน ๓.๒ การอบรม/ปฐมนิเทศกรรมการสภาฯ (ภายในสถาบัน) ๑. การอบรมที่มหาวิทยาลัยจัด โดยเป็นไปตามหลักสูตรที่ได้มาตรฐานและสอดคล้องกับภารกิจของสถาบัน โดยระบุระยะเวลา หัวข้อ วิทยากร เอกสารการอบรม และผลการประเมินการเข้ารับการอบรม ๒. มีคู่มือการปฏิบัติงานของกรรมการสภาฯ ที่มีหัวข้อดังนี้ ๑) โครงสร้างของสภาฯ (จำนวนของคณะกรรมการ องค์ประกอบของกรรมการสภาฯ ที่มาของการเป็นสมาชิก วาระการเป็นสมาชิก
เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ประเด็นหลัก ประเด็นย่อย เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ๒) บทบาทหน้าที่ของกรรมการสภามหาวิทยาลัย เช่น ความรับผิดชอบต่อสังคม การจัดการด้านการเงินและทรัพย์สิน การบริหารความเสี่ยง การบริหารงานบุคคล และการกำกับการจัดการศึกษา ๓) กฏหมายและวิธี ปฏิบัติที่กรรมการสภามหาวิทยาลัยควรทราบ ๔) จรรยาบรรณของสภามหาวิทยาลัย เช่น การไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน ฯลฯ ๕) การประเมินผลการปฏิบัติงานของสภาฯ ที่ครอบคลุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ประเด็นหลัก ประเด็นย่อย เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา ๓.๓ การอบรม/ปฐมนิเทศกรรมการสภาฯ (ภายนอกสถาบัน) ๑) IOD หรือ ๒) สถาบันพระปกเกล้า หรือ ๓) สถาบันคลังสมอง หรือ ๔) การอบรมโดย สมศ. / สกอ./ สสมท. ๓.๔ มีการประเมินอย่างเป็นระบบ - ระบบการประเมินกรรมการสภาฯ ของสถาบัน ๓.๕ มีการกำหนดจรรยาบรรณของสภาฯ - ข้อกำหนดด้านจรรยาบรรณของกรรมการสภาฯ - รายงานประจำปีของกรรมการสภาฯ
แบบทดสอบ 1. ชื่อมหาวิทยาลัย....................................................................... ปรัชญา..............ปณิธาน.................วิสัยทัศน์..............พันธกิจ............... อัตลักษณ์..................เอกลักษณ์.................มาตรการส่งเสริม................... 2. ให้บริการ สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ............คณะ สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ ............คณะ สาขาสังคมศาสตร์ ............คณะ สาขามนุษยศาสตร์ ............คณะ 3. ให้บริการนอกที่ตั้ง......................แห่ง สาขา.......................... 4. จำนวนอาจารย์................คน วุฒิ ป.ตรี ร้อยละ..................... วุฒิ ป.โท ร้อยละ..................... วุฒิ ป.เอก ร้อยละ.....................
5. จำนวน ผศ. ร้อยละ................ รศ. ร้อยละ................ ศ. ร้อยละ................ 6. จำนวนนักศึกษา..........................คน 7. สัดส่วน อาจารย์ : นักศึกษา คือ ................ : …………… 8. จำนวนผลงานวิจัย และผลงานทางวิชาการ.....................ชิ้น / ปี 9. ผลประเมิน IQA # คะแนนที่ได้........................... # ระดับคุณภาพ........................ 10. ผลประเมิน EQA # คะแนนที่ได้...........................
ส วั ส ดี