ถุงเงิน ถุงทอง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนการคลัง สำนักบริหารแผนและการคลัง
Advertisements

การปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การเสนอขออนุมัติโครงการ
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานซ่อมบำรุง
ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน
โครงการ พัฒนาการจัดเก็บและค้นหาเอกสาร ส่วนบริหารกิจการจัตุรัสจามจุรี
การเพิ่มประสิทธิภาพ และความปลอดภัยในการบริหารจัดการข้อมูล
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
สำนักงานตรวจสอบภายใน
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
หลักการและเหตุผล. โครงการลงบัญชีเงินยืมทดรองจ่ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ หน่วยคลัง งานคลังและพัสดุ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
การยืมเงินรองจ่าย งานคลังและพัสดุ คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
โครงการ “การจ่ายค่าตอบแทนวิทยากร ในรายการเปิดประตูสู่มหาวิทยาลัย”
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร
ฝ่ายบริการจ่าย-รับ ศูนย์วิทยทรัพยากร
กลุ่ม CU_REGISTRAR_FB
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
2.2 สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ.ศ.2554 (ประเภทโครงการใหม่ที่พัฒนาหน่วยงาน)
โปรแกรมสำหรับออกรหัสประเภทกิจกรรม (Activity Type)
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการข่าวสาร ในสถานการณ์วิกฤติ ฉุกเฉิน และเร่งด่วน โดยกลุ่ม...โบ X 2.
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน
ปรู๊ฟทันใจ โครงการ แผนกลูกค้าสัมพันธ์
การนำเสนอโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ในฝ่ายการพัสดุ
โครงการการปรับขั้นตอนการรับสมัคร เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมสัมมนา
“ การเพิ่มประสิทธิภาพการตั้งงบประมาณ หมวดค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ”
โครงการ รับเข้าสินค้า รวดเร็ว ทันใจ มีประสิทธิภาพ
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
หน่วยงาน สำนักงานจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานสวัสดิการ
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
โครงการกระบวนการจัดทำสัญญาเพื่อให้ผู้เช่าลงนาม ให้แล้วเสร็จ
ประเภทโครงการ Cross Function/Lean เครือข่ายวิชาชีพ ทีมบริหารสินค้าต่างประเทศ ทีมบัญชีเจ้าหนี้ต่างประเทศ ทีมขายสาขา ม.นเรศวร ทีมขายสาขา มทส.
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน
ชื่อกลุ่ม กลุ่ม 10 ดวงใจแห่งความสำเร็จ
โครงการ : ลดระยะเวลาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี
โครงการพัฒนาคุณภาพงานด้วยแนวคิด Lean
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
สำนักงานตรวจสอบภายในทหาร
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II)
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวง สาธารณสุข รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2552 ระหว่างวันที่ มกราคม 2552 ( ข้อเสนอแนะ ) 1. ในการดำเนินงานเพื่อตอบตัวชี้วัด.
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
SWOT งานการเงินและบัญชี
การบริหารงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงบประมาณ
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.

การสร้างวินัยทางการเงินการคลัง 24 กุมภาพันธ์ 2557
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ถุงเงิน ถุงทอง

ลดความล่าช้าในการส่งคืนเงินรองจ่าย ค่าใช้จ่ายบุคลากรของหน่วยงาน โครงการประเภท Cross Function

สมาชิก OD Cross Function โดยความร่วมมือของ 4 หน่วยงาน ฝ่ายการคลัง สำนักบริหารแผนและการคลัง ฝ่ายการงบประมาณ สำนักบริหารแผนและการคลัง ฝ่ายบริหารงานบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ ศูนย์การจัดการทรัพยากรมหาวิทยาลัย (CU-ERP)

กระบวนการที่นำมาพัฒนา (VSM) การส่งคืนเงินรองจ่ายค่าใช้จ่ายบุคลากรของหน่วยงาน

ที่มา / มูลเหตุจูงใจของโครงการ รับผิดชอบ เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายบุคลากร/ส่งคืนเงินรองจ่าย รับผิดชอบ ดำเนินการบันทึกข้อมูลและประมวลผลในระบบ CU-ERP(HR) หน่วยงานต่าง ๆ (คณะ/ วิทยาลัย/สถาบัน/ศูนย์/ สำนัก) ฝ่ายบริหารงานบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ บุคลากร/ เจ้าหนี้บุคคลที่ 3 ฝ่ายการคลัง สำนักบริหารแผนและการคลัง รับผิดชอบ ดำเนินการรองจ่าย เพื่อให้จ่ายเงินเดือนได้ทันในแต่ละเดือน ได้รับเงินเดือนฯ ก่อน 3 วันทำการสุดท้ายของเดือน หน่วยงานต่าง ๆ ส่งคืนเงินรองจ่ายค่าใช้จ่ายฯ ล่าช้าเป็นระยะเวลานานหลายเดือนบางหน่วยงาน ไม่สามารถส่งคืนได้ทันในปีงบประมาณ ทำให้มหาวิทยาลัยไม่สามารถวางแผนการบริหารเงิน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เป้าหมายและตัวชี้วัด 1. จำนวนเงินลูกหนี้เงินรองจ่ายค่าใช้จ่ายบุคลากรคงค้างลดลง จำนวนหน่วยงานที่ส่งคืนเงินรองจ่ายค่าใช้จ่ายบุคลากรครบถ้วนภายในเวลา ที่กำหนดเพิ่มขึ้น

VSM (ก่อนทำ Lean)

สรุปผลการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (ก้างปลา)

สรุปผลการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (ก้างปลา) ขาดการประสานงานระหว่าง จนท.HR จนท.การเงิน จนท.นโยบายและแผน ของส่วนงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง บุคลากรของส่วนงาน (คณะ/สถาบัน/วิทยาลัย/ศูนย์/สำนัก) ขาดความเข้าใจในการตรวจสอบรายงานการเบิกจ่าค่าใช้จ่ายบุคลากร ฝ่ายการคลัง ไม่มีกำหนดแนวทางเร่งรัดการส่งคืนรองจ่ายค่าใช้จ่ายบุคลากร 4. กรณีงบประมาณค่าใช้จ่ายบุคลากรไม่เพียงพอ เอกสารประกอบการขอโอนงบประมาณไม่ครบถ้วน

สรุปการแก้ไขปรับปรุงที่ได้ดำเนินการ เชิญเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายของส่วนงานต่าง ๆ ที่มีปัญหา ร่วมประชุมปรึกษาเพื่อหาสาเหตุและวิธีการแก้ปัญหาร่วมกัน สำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ จัดทำรายงานสรุปนำส่งเงินรองจ่ายค่าใช้จ่ายบุคลากร เพิ่มเติม ฝ่ายการคลัง สำนักบริหารแผนและการคลัง จัดทำแนวทางโดยกำหนดระยะเวลาในการส่งคืนเงินรองจ่ายค่าใช้จ่ายบุคลากร ฝ่ายการงบประมาณ สำนักบริหารแผนและการคลัง จัดทำเอกสารแนะนำเรื่องการขอโอนงบประมาณ กรณีงบประมาณค่าใช้จ่ายบุคลากรไม่เพียงพอในระบบ CU-ERP (FI)

ผลลัพธ์ของการพัฒนา ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง แผนภูมิแสดง ข้อมูลก่อนการปรับปรุง 6 เดือน ตั้งแต่ธ.ค.53 – พ.ค.54 และหลังปรับปรุง 3 เดือน ตั้งแต่ มิ.ย.54 – ส.ค.54 คือ 1. จำนวนเงินรองจ่ายฯคงค้างแต่ละเดือน ณ วันที่ 10 ของเดือนถัดไป 2. จำนวนหน่วยงานที่ส่งคืนเงินรองจ่ายฯ ครบถ้วนแต่ละเดือน ณ วันที่ 10 ของเดือนถัดไปจาก จำนวน 36 หน่วยงาน

ผลการปรับปรุง จำนวนเงินลูกหนี้เงินรองจ่ายค่าใช้จ่ายบุคลากรคงค้างแต่ละเดือนลดลง จำนวนหน่วยงานที่ส่งคืนเงินรองจ่ายค่าใช้จ่ายบุคลากรครบถ้วนในแต่ละเดือน ยังเห็นการเปลี่ยนแปลงไม่ชัดเจนเนื่องจากบางขั้นตอนอยู่ระหว่างดำเนินการ คาดว่าน่าจะเป็นไปในแนวทางที่ดีขึ้น

VSM (หลังทำ Lean)