การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เพื่อรับการประเมินภายนอก
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เกณฑ์ (gain!?!)หมวด 7.
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การจัดทำแผนที่กลยุทธ์/ยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดทำ แผนกลยุทธ์ เพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพ
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ งานนโยบายและแผน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

โครงสร้าง ; งานนโยบายและแผน คณบดี รองคณบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา หัวหน้างานนโยบายและแผน หน่วยประกันคุณภาพ (QA) งานนโยบายและแผน หน่วยวิเทศสัมพันธ์ พนักงานเงินรายได้ 1 คน ข้าราชการ 1 คน (หัวหน้างาน) พนักงานเงินรายได้ 1 คน

ขอบข่ายภาระงาน ฯลฯ การเงินงบประมาณ อัตรากำลัง ภาระงาน แผนพัฒนาคณะ โครงการความเป็นเลิศฯ ระบบประกันคุณภาพ, RM ระบบ KPIs ระบบข้อมูล / กพร. การวิเคราะห์เพื่อการพัฒนา ฯลฯ งบแผ่นดิน เงินรายได้ หลักเกณฑ์การจัดสรร การบริหารงปม. การติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ วิเคราะห์อัตรากำลัง จัดทำคำขอ LoadUnit TOR แผนพัฒนาคณะฯ ระยะสั้น ระยะยาว พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน (IQA)

 หลักในการทำงานร่วมกัน  งานนโยบายและแผน มีความสุขในการทำงาน มีการวางแผน และบริหารจัดการที่ดี การทำงานเป็นทีม งานไม่เคยฆ่าใคร ประชุมเดือนละ 1 – 2 ครั้ง เน้นการทำงานเป็นทีม ต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน แบบพี่น้อง ให้อภัยกัน รู้หน้าที่มีความรับผิดชอบ เราพร้อมเสมอเมื่อเค้ามาปรึกษา จะวางมือทันทีรับฟังปัญหาของเค้า บางทีเค้าแค่มาบ่นให้ฟังแล้วก้อจากไป เราก็จะฟังให้กำลังใจกัน ประชุมคุยกันเรื่องงาน ปัญหา วิธีแก้ไข พัฒนางาน ทุกเดือน (ร่วมกับรองคณบดีฯ) คุยกันเอง เดือนละครั้ง แล้วแต่ วางแผนงาน ทั้งในระยะสั้น ระยะยาว ทั้ง routine และ งานพัฒนา และต้องบริหารจัดการได้อย่างเป็นระบบ เช่น จัดลำดับความสำคัญของงาน ก่อนหลัง ทำล่วงหน้า มี check list ในการทำงาน เมื่อเจอปัญหาจะ (1) สอนงาน เป็นที่ปรึกษา ; QA คือ ยาขม อมนานๆ จะหวานไปเอง

 ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงาน  ผู้บริหาร ; สนับสนุน ให้อิสระในการทำงาน วัฒนธรรมองค์กร ; มีความผูกพันฉันท์พี่น้อง คน/บุคลากรของคณะ ; ให้ความร่วมมือ ทุ่มเท เสียสละ เพื่อคณะฯ บรรยากาศกระตือรือร้นในการทำงาน

ระบบประกันคุณภาพ (QA), KPIs งานนโยบายและแผน การจัดหา จัดสรรทรัพยากร จัดทำแผนการพัฒนา ระบบประกันคุณภาพ (QA), KPIs ผลักดันผลการดำเนินงาน บรรลุตามเป้าหมาย นำผลการประเมินตนเองมาพัฒนา ปรับปรุง จัดสรรทรัพยากร และจัดทำแผนพัฒนา พัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน

การบูรณาการงานต่างๆ งานเชิงพัฒนาและวางระบบ แยกงานออกเป็น 2 ประเภท งานประจำ ภาระงานที่มีแผนปฏิบัติการประจำปี เช่น งบประมาณ อัตรากำลัง SAR ฯลฯ งานเชิงพัฒนาและวางระบบ วิเคราะห์ปัญหา กำหนดแนวทางแก้ไขปัญหา เช่น ระบบฐานข้อมูล วางแผนพัฒนางาน ทั้ง เชิงรุก และเชิงรับ เช่น เกณฑ์สกอ. PMQA TQA สมศ.รอบสาม ฯลฯ บูรณาการโดยการ แยกส่วนงานเป็น 2 ประเภท คือ งานประจำ และงานเชิงพัฒนา(วิเคราะห์สภาพปัญหา เป้าหมาย แล้วคิดวางแผนทำให้สำเร็จ)

วิสัยทัศน์ QA/SAR พันธกิจ KPIs บรรลุเป้าหมาย แผนพัฒนาคณะ TOR/LU กำหนดเป้าหมาย/ ทิศทางการพัฒนา เครื่องมือที่ใช้ เป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ แผนพัฒนาคณะ QA/SAR KPIs TOR/LU บรรลุเป้าหมาย ปรับแผน ปรับเป้าหมาย

หลักการคุณภาพของคณะ ยึดหลักคุณภาพ PDCA-PaR ประเมินตนเองบนพื้นฐานข้อมูลที่ถูกต้อง เน้นคุณภาพ มากกว่าปริมาณ เน้นน้ำหนักตัวบ่งชี้หลักที่สำคัญ

การพัฒนาระบบประกัน คุณภาพภายในที่เชื่อมโยง กับงานนโยบายและแผน จัดสรรงบประมาณ อัตรากำลัง สนับสนุน ติดตามแผน ขจัดจุดอ่อน SAR KPIs พัฒนาบุคลากร ระบบฐานข้อมูล ระบบอื่นๆ/Trend พัฒนาตัวบ่งชี้ RM แผนปฏิบัติการคณะฯ ลดความเสี่ยง การมีส่วนร่วม ปรับแผนฯ บูรณาการ RM commit เสร็จตามกำหนดเวลา, ข้อมูลครบถ้วน ทำอย่างต่อเนื่อง TOR ปรับรูปแบบ SAR สอดคล้องกับภารกิจ LU การพัฒนาระบบประกัน คุณภาพภายในที่เชื่อมโยง กับงานนโยบายและแผน การสื่อสาร ผู้รับผิดชอบส่วนกลาง ปรับทัศนคติ , ทักษะความรู้ สร้างตัวบ่งชี้เฉพาะระดับคณะฯ ก้าวไปข้างหน้า เวทีพี่เลี้ยงหนภ., consult สะท้อนวิสัยทัศน์ สะท้อนภารกิจ เพื่อคุณภาพ KM ภาควิชา แบบฟอร์ม ผู้รับผิดชอบ พัฒนา IT, E-SAR Benchmark, Ranking การไหลของข้อมูล Monitor ข้อมูล TQA ฐานข้อมูล PMQA แรงจูงใจ เงินโบนัส

KPIs - การบริหารความเสี่ยง ตัวบ่งชี้วัดคุณภาพทุกมิติ ตัวบ่งชี้เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ ตัวบ่งชี้ที่เป็นสากล พัฒนาตัวบ่งชี้ KM; กลุ่มเลขาภาควิชา เวทีหัวหน้าภาควิชา เวทีผู้รับผิดชอบส่วนกลาง เวทีกลุ่มงาน พัฒนาบุคลากร พัฒนาระบบฐานข้อมูล แบบฟอร์ม ฐานข้อมูล ผู้รับผิดชอบ ระบบการไหลข้อมูล IT, E-SAR ติดตามประเมินผล ข้อมูลรายไตรมาส ผลักดันการทำงานบรรลุเป้า (KPIs, SAR, ActionPlan) KPIs - การบริหารความเสี่ยง

ขอบคุณค่ะ

การพัฒนาบุคลากร ทำงานเชิงรุก ทำทุกระดับ และทำต่อเนื่อง ทำงานเชิงรุก ทำทุกระดับ และทำต่อเนื่อง ใช้กระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน อบรมเพิ่มพูนความรู้ เปิดมุมมองโลกทัศน์ ศึกษาดูงานหน่วยงานที่มีแนวปฏิบัติที่ดี แลกเปลี่ยนประสบการณ์ เป็นพี่เลี้ยง มีการสื่อสารอยู่ตลอดเวลา สร้างเป็นเครือข่ายฯ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน update ตลอดเวลา เช่น QAC กลุ่มภาควิชา กลุ่มหน่วยงานกลาง เวทีพี่เลี้ยง ; คณบดีพบหัวหน้าภาควิชา เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ; กลุ่มภาควิชา กลุ่มหน่วยงานกลาง สร้างการมีส่วนร่วม ; ทุกคนที่ต้องรับผิดชอบข้อมูลในการรายงานเข้าระบบ