รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
การประชุมชี้แจงและกำหนด KPIs ระดับภาควิชา/หน่วยงานจัดการเรียนการสอน
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
คณะทรัพยากรธรรมชาติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
การประมวลและประเมินความก้าวหน้าทางวิชาการ
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
วันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม 2549
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
ผลการประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2551 สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
“ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และการประกันคุณภาพการศึกษา” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 31 พฤษภาคม 2552.
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
ยินดีต้อนรับ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
รายงานผลทางวาจา การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน มหาวิทยาลัยพายัพ วันที่ 5-7 กันยายน 2551.
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
CHE QA ONLINE ประชุมชี้แจงการปรับปรุงและ การใช้ระบบฐานข้อมูลด้านการ ประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา 28 ก. ค
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
K hon K aen U niversity O ffice of Q uality M anagement ผลลัพธ์ IQA_KKU 2552.
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ผลการตรวจสอบและประเมินระบบ การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในคณะเทคนิคการแพทย์ วันที่ 5 เมษายน 2555.

1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทิศทางการปฏิรูปองค์กร
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การศึกษาภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
CMU: UNIVERSITY OF EXCELLENCE
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
วิสัยทัศน์ เป็นเลิศด้าน วิชาการ รับใช้ สังคม 50 ของเอเชีย เป้าหมาย ร่วมพัฒนาพื้นที่และประเทศอย่างยั่งยืน จัดการศึกษา มีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ พัฒนางานวิจัย.
งานกิจการนิสิต
สรุป การสัมมนา “การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี 2555”
หลัก สูตร คณะ สถาบั น 2 บัณฑิต 3 นักศึกษา 4 อาจารย์องค์ประกอบ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 การผลิตบัณฑิต 2.
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
SELF-ASSESSMENT REPORT Department of Medicine. SAR Plan-Do-Follow-Evaluate-Improve.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553

ตารางสรุปผลการประเมินรายองค์ประกอบ ปี2551 ปี2552 ปี2553 1) ปรัชญา ปณิธาน 4.33 4.00 2) การเรียนการสอนฯ 3.53 3.54 4.38 3) กิจกรรมนักศึกษาฯ 4.67 3.75 4) วิจัย 3.22 3.14 5) บริการวิชาการ 5.00 6) ศิลปวัฒนธรรม 7) การบริหาร 3.71 3.56 4.50 8) การเงิน 9) ประกันคุณภาพ ค่าน้ำหนัก 9 องค์ประกอบ 4.09 3.91 4.39

องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน จุดเด่น – อาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาเอก (88.24%) - อาจารย์ประจำที่มีตำแหน่งวิชาการ (58.82%) - ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน - ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตาม คุณลักษณะของบัณฑิต ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อม การเรียนรู้

องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา จุดเด่น ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ระบบและกลไกการให้คำปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร

องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย จุดเด่น - เงินสนับสนุนต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย (ประมาณ 160,000 ประมาณ 173,600) ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัย ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากการวิจัย

องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม จุดเด่น - กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม

องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม จุดเด่น – ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ จุดเด่น – ภาวะผู้นำของสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของหน่วยงาน การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันการเรียนรู้ ระบบบริหารความเสี่ยง ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ

ตัวบ่งชี้ สมศ.ปีการศึกษา2553 ตัวบ่งชี้พื้นฐาน ผลการดำเนินงาน คะแนน คุณภาพบัณฑิต บัณฑิต ป.ตรีที่มีงานทำภายใน 1 ปี 64.29 3.21 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานฯ 3.91 ผลงานมหาบัณฑิตที่ตีพิมพ์ 25.00 5.00 งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ งานวิจัยทีได้รับการตีพิมพ์ 33.82 งานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ 35.29 ผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ 17.65 การบริการวิชาการ นำมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน 28.57 4.76 การบริหารและพัฒนาสถาบัน การพัฒนาคณาจารย์ 6.53

ตัวบ่งชี้พื้นฐาน คุณภาพบัณฑิต ตัวบ่งชี้พื้นฐาน คุณภาพบัณฑิต - บัณฑิตที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี (64.29%) ใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา - ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ป.โท ที่มีการตีพิมพ์ (25.00%) เท่ากับเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด มีการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติและระดับชาติใกล้เคียงกัน

ด้านสังคมศาสตร์ ตัวบ่งชี้พื้นฐาน งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้พื้นฐาน งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ด้านสังคมศาสตร์ - งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (33.82%) มากกว่าเกณฑ์กำหนดไว้ (10.00 %) ส่วนใหญ่ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ - งานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ (35.29%) มากกว่าเกณฑ์กำหนดไว้ (20.00 %) - ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ (17.65 %) มากกว่าเกณฑ์กำหนดไว้ (10.00 %) ส่วนใหญ่ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ

ตัวบ่งชี้พื้นฐาน การบริการวิชาการแก่สังคม ผลการนำความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการ มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนหรือการวิจัย (28.57%) น้อยกว่าเกณฑ์กำหนดไว้ (30.00 %) มีเพียง 2 โครงการ จากทั้งหมด 7 โครงการ ที่นำมาใช้ในการพัฒนาเฉพาะในด้านการเรียนการสอนเท่านั้น

มากกว่าเกณฑ์กำหนดไว้ (6.00) ตัวบ่งชี้พื้นฐาน การบริหารและพัฒนาสถาบัน การพัฒนาคณาจารย์ (6.53) มากกว่าเกณฑ์กำหนดไว้ (6.00) คณาจารย์บางส่วน ประมาณ 1 ใน 3 (อาจารย์ใหม่) ยังไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ

ภาพรวมของการประเมินภาควิชา ปี 2553 ผลกระทบจากการเกษียณอายุของอาจารย์ ในภาคอย่างต่อเนื่องและการรับอาจารย์ใหม่ ที่ไม่สอดคล้องในด้านเวลา อาจารย์ของภาคฯ ส่วนหนึ่งอยู่ระหว่างการพัฒนาคุณวุฒิเพื่อขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ แต่เนื่องจากต้องรับภาระงานหลายด้าน ทำให้ยังไม่สามารถเสนอขอตำแหน่งเพื่อทดแทนกับคณาจารย์ที่เกษียณอายุได้ทัน

ภาพรวมของการประเมินภาควิชา ปี 2553 3. จำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี ประกอบกับคุณภาพของนักศึกษาในด้านวิชาการที่อ่อนลง ทำให้ต้องเผชิญกับปัญหาทางการเรียนการสอนมากขึ้น 4. ต้องใช้ความพยายามในการพัฒนาการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น (ผู้เรียนพอใจ ผลการสำเร็จการศึกษาเป็นไปตามเป้าหมาย)

ภาพรวมของการประเมินภาควิชา ปี 2553 5. จำนวนบุคลากรของภาคฯ มีน้อย และเป็นบุคลากรใหม่ ต้องการเวลาในการสะสมประสบการณ์ (ทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน) ทำให้ต้อง ใช้เวลาในการจัดการมากขึ้น 6. ภาระงานในบางด้านมากขึ้น ทำให้มีโอกาสพัฒนางานด้านอื่นน้อยลง

ภาพรวมของการประเมินภาควิชา ปี 2553 7. คณาจารย์ในภาควิชาฯ มีความต้องการในการทำวิจัยมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาหน่วยงานและบุคลากร 8. มีการส่งเสริมให้นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยที่ได้มาตรฐานมากขึ้น ทั้งในแผน ก และแผน ข

ขอขอบคุณ