กระบวนทัศน์ทิศทางงานอภิบาล วิธีดำเนินการสัมมนาภาค สัมมนาภาคกลาง 6-9 ตุลาคม 2009 บ้านผู้หว่าน สามพราน
ภูมิหลัง แผนทิศทางฯ ค.ศ. 1988 - วิสัยทัศน์ พันธกิจ เรื่องรีบด่วน 4 เรื่อง แผนทิศทางฯ ค.ศ. 2000 - ผนวกหลักการ 3 นโยบาย 12 แผนกิจกรรม 108 มาตรการ 7 แผนทิศทางฯ ค.ศ. 2010 - ติดตามทิศทางฯ ค.ศ. 2000 เพื่อเสริมจุดเด่น พัฒนาจุดที่ต้องการ
วิสัยทัศน์ ประชากรของพระเจ้า เป็นหนึ่งเดียวในความรัก แสวงหา ติดตาม และประกาศพระเยซูคริสตเจ้า
สิ่งที่พบ หลัง ค.ศ. 2000 จุดเด่น ทุกสังฆมณฑล - มีแผนทิศทางฯ ของตน -มีการปรับปรุงระบบการอภิบาล คณะกรรมการคาทอลิก / คณะนักบวช / องค์กรคาทอลิกส่วนใหญ่ - ศึกษาทิศทางฯ - ทบทวนแผนงาน
สิ่งที่พบ หลัง ค.ศ. 2000 จุดที่ควรพัฒนา ผู้อภิบาล - ทองงานอภิบาลใกล้ตัวมากกว่าภาพรวม คณะกรรมการคาทอลิก - บทบาทในการทำงานระดับสังฆมณฑลยังไม่ทั่วถึง ระดับความเข้าใจวิสัยทัศน์และแผนทิศทางฯ - ? ? ? ? ? ? ? - เรามุ่งให้ “ประชากรของพระเจ้า” เป็นอย่างไร?
กระบวนทัศน์ที่ต้องการเสริม ยึดวิสัยทัศน์เป็นเป้าหมายปลายทาง สร้างผู้นำที่มีทัศนคติเชิงบวก ขยายความเข้าใจวิสัยทัศน์สู่มวลคริสตชน ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์การบริหารจัดการ เสริมการมีส่วนร่วมของฆราวาสอย่างเป็นกระบวนการ ติดตามการปฏิบัติเชิงนโยบาย เสริมบทบาทคณะกรรมการคาทอลิก ด้านการสร้างความเข้มข้นในสนามงานสังฆมณฑล
วิธีการเพื่อเสริมจุดเด่น ผ่านประสบการณ์ “วิถีเชิงบวก” ผู้แทนสังฆมณฑล / องค์กรที่เข้าสมัชชา ขยายผลในบริบทของตน
กระบวนการ การสัมมนา การประชุมสมัชชา (การประชุมสมัยวิสามัญ สภาพระสังฆราชฯ) แผนภูมิกระบวนการสมัชชา.doc
การสัมมนาภาค ผ่านกระบวนการ “วิถีเชิงบวก” 3 ขั้นแรก คือ แสวงหา สานฝัน และ สรรค์สร้าง ระดับสังฆมณฑล / องค์กร เตรียมข้อเสนอ ในบริบทสังฆมณฑล / องค์กร
การประชุมสมัชชา กำหนดประเด็นสำคัญ สำหรับทิศทางงานอภิบาล ค.ศ. 2010 - ระดับสังฆมณฑล / องค์กร - ระดับสภาพระสังฆราชฯ ผ่านกระบวนการ “วิถีเชิงบวก” ขั้น 3 และ 4 จากการสรรค์สร้าง สู่การสืบสานทิศทางฯ สู่การอุทิศตน / ความร่วมมือของมวลคริสตชน
วิธีดำเนินการสัมมนาภาค แนะนำกระบวนการ “วิถีเชิงบวก” (4ส) กิจกรรมกลุ่ม แบ่งปันประสบการณ์ส่วนบุคคล บันทึกคุณค่าที่ค้นพบตามกระบวนการ สู่การกำหนดลักษณะชุมชน คริสตชนที่ “เป็นหนึ่งเดียวในความรัก” บทบาท “ผู้ช่วยกลุ่ม”
การแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มสังฆมณฑล 3 กลุ่มฝ่าย (กรรมการคาทอลิก) 1 กลุ่มองค์กรฆราวาสแพร่ธรรม 1 กลุ่มนักบวช ** กรรมการเตรียมสมัชชา เข้าร่วมกลุ่มต่างๆ
“ ชุมชนวัด ” ชุมชนวัด เป็นกลุ่มเป้าหมายที่แต่ละท่านจะใช้อ้างอิงประสบการณ์ของตน หมายถึงชุมชนคริสตชนในระดับวัด / ท้องถิ่น ชุมชนวัด อาจเป็นหมู่คณะ กลุ่มกิจกรรม องค์กร บ้านนักบวช ฯลฯ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนวัดก็ได้ ชุมชนวัด ในความหมายที่กว้างขึ้นคือ สังฆมณฑล หรือพระศาสนจักรในประเทศไทยโดยรวม ในการแบ่งปันประสบการณ์ “สุดยอด” ของท่านในกลุ่ม จะอ้างถึง “ชุมชน” ระดับใดก็ได้ แต่ขอให้เป็นประสบการณ์ที่เกิดกับท่านจริงๆ
เอกสารประกอบการสัมมนา เอกสารชุดที่ 1 (ส่งให้ท่านล่วงหน้าพร้อมกับจดหมายเชิญ) กำหนดการประจำวัน ชุดแบบฟอร์ม สำหรับบันทึกการแบ่งปัน - ชุด ส. สำหรับส่วนบุคคล - ชุด สร. สำหรับเลขากลุ่ม / ผู้ช่วยกลุ่ม
ยอห์น 13: 35 ถ้าท่านมีความรักต่อกัน ทุกคนจะรู้ว่าท่านเป็นศิษย์ของเรา