จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
การประเมินผลสถานศึกษา
การเขียนผลงานวิชาการ
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
ส่วนที่ 2 การประเมินกับ การบริหารงานบุคคล รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรช่างอุตฯ1
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรช่างอุตฯ2
การศึกษารายกรณี.
 การสอนแบบอภิปราย.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
ความจำเป็นในการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การวัดผล (Measurement)
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
วัตถุประสงค์ 1.นักเรียนบอกชื่อของพืชสมุนไพรได้
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การเขียนข้อเสนอโครงการ
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
บทบาทสมมติ (Role Playing)
การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ADDIE Model.
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
ความเป็นครู.
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ระบบการ ดำเนินการใน โรงเรียน 1. ระบบบริหารจัดการ 2. ระบบการเรียนการสอน 3. ระบบการวัดผลประเมินผล 4. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 5. ระบบงานกิจกรรมนักเรียน.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
----- ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับการสอนวิชา SPSS ชื่อผู้วิจัย นางเขมิกา ภาคเกษี สังกัดวิทยาลัย.
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบ Constructionism พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาโครงการ ภาควิชาอุตสาหกรรม โดย นางสาวบุญส่ง ศรีอนุตร์ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาวิชาการ.
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้ ดร.เมธี ธรรมวัฒนา ผู้สอน

จุดมุ่งหมาย จุดมุ่งหมาย Objective จุดประสงค์ Aim เป้าหมาย Target เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ Objective Aim Target KPI

จุดมุ่งหมายของหลักสูตร จุดมุ่งหมายการศึกษา (แห่งชาติ) จุดมุ่งหมายของการศึกษาแต่ละระดับ จุดมุ่งหมายกลุ่มวิชา / หมวดวิชา จุดมุ่งหมายรายวิชา จุดมุ่งหมายการเรียนรู้/จุดประสงค์การเรียนรู้ (เชิงพฤติกรรม)

ตัวอย่างวิธีการเขียน จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม A B C D A = Audient ผู้ฟัง หรือผู้เรียน B = Behavior พฤติกรรม C = Condition เงื่อนไข D = Degree ระดับ

ตัวอย่างการเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อนิสิต (A) ได้เรียนบทเรียนนี้แล้ว (C) 1. บอกความหมายของจุดมุ่งหมายประเภทต่างๆ ได้ถูกต้องร้อยละ 80 (B) (D) 2. ยกตัวอย่างการเขียนจุดมุ่งหมายประเภทต่างๆ ได้ถูกต้อง

การเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้ ของBloom Taxonomy 1956 ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) สติปัญญา ความคิด ความรู้/จำ เข้าใจ-ประยุกต์ใช้-วิเคราะห์-สังเคราะห์-และประเมินผล 2.ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) ความรู้สึก อารมณ์ รับรู้ ตอบสนอง สร้างคุณค่า นำมาจัดระบบ สร้างลักษณะนิสัย 3.ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) รับรู้ ทำตามแบบ ทำได้ ทำคล่อง ทำอย่างเชี่ยวชาญ

E. J. Simpson

New Bloom Taxonomy

การนำหลักสูตรไปใช้ วิชัย วงษ์ใหญ่ (2535) กล่าวว่า การนำหลักสูตรไปใช้เป็นกระบวนการอย่างหนึ่งที่จำเป็นต้องคำนึงถึงหลักการต่างๆ ดังนี้ การนำหลักสูตรไปใช้เป็นกระบวนการต่อเนื่อง สั้นและยาวต้องมีการประสานงานอยู่เสมอ ระยะเวลาใช้หลักสูตรจะมีการปรับปรุงพัฒนา ประเมินผลเป็นระยะๆ การนำหลักสูตรไปสัมพันธ์กับพัฒนาการทางด้านวิชาชีพครู พัฒนาด้านเดียวย่อมไม่เกิดผล การนำหลักสูตรไปใช้ต้องมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือ

5. เมื่อพบปัญหาการใช้หลักสูตรให้วิเคราะห์ และแก้ไข 6. การสร้างแผนงานการนำหลักสูตรไปใช้ต้องอาศัยการเรียนรู้ วิธีการ และเวลา 7. ผลการใช้หลักสูตรต้องพิจารณาความก้าวหน้า และประโยชน์ที่จะได้รับ

คำถามที่ 1 การนำหลักสูตรไปใช้ไม่เกี่ยวข้องกับใคร ผู้บริหาร ครู นักเรียน นักวิชาการ

คำถามที่ 2 การนำหลักสูตรไปใช้ไม่เกี่ยวข้องกับ ใครอีกบ้าง คำถามที่ 2 การนำหลักสูตรไปใช้ไม่เกี่ยวข้องกับ ใครอีกบ้าง ผู้บริหาร ครู วิทยากรอบรมครู นักวิชาการ นักแนะแนว ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ปกครองนักเรียน 8. ปราชญ์ชาวบ้าน 9. นักวัดผลการศึกษา 10.ศึกษานิเทศก์ 11.หัวหน้าภาควิชา 12. นักการภารโรง 13. อบต.

ปัญหาการนำหลักสูตรไปใช้ ปัญหาขาดครูที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ปัญหาการไม่ยอมรับและไม่เปลี่ยนแปลงบทบาทการสอนของครูตามแนวหลักสูตร ปัญหาการจัดอบรมครู ศูนย์การพัฒนาหลักสูตร ไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตน ขาดการประสานงานที่ดีระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ผู้บริหารต่าง ๆ ไม่สนใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร ปัญหาขาดแคลนเอกสาร เนื่องจากขาดงบประมาณและการคมนาคมขนส่งไม่มีประสิทธิภาพพอ