งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
บทที่ 2 จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา

2 2.1 ระดับของจุดมุ่งหมาย 1) จุดมุ่งหมายทั่วไป/นโยบายจัดการ ศึกษาของชาติ
1) จุดมุ่งหมายทั่วไป/นโยบายจัดการ ศึกษาของชาติ 2) จุดมุ่งหมายของหลักสูตร 3) จุดมุ่งหมายเฉพาะรายวิชา/กลุ่มสาระ 4) จุดมุ่งหมายการเรียนการสอน

3 2.2 ประเภทของพฤติกรรม 1) พฤติกรรมแฝง เช่น - ความรู้ ความเข้าใจ
1) พฤติกรรมแฝง เช่น - ความรู้ ความเข้าใจ - ทัศนคติ - การสังเคราะห์ 2) พฤติกรรมที่สังเกตได้ เช่น - บอก อธิบาย - จำแนก

4 2.3 จุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม
เป็นจุดมุ่งหมายที่กำหนดขึ้นโดยบ่งถึงพฤติกรรมของผู้เรียนเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน โดยเป็นพฤติกรรมที่แสดงออกมาภายนอก สามารถสังเกตได้ วัดและประเมินได้

5 องค์ประกอบของจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม
1) พฤติกรรมที่คาดหวัง (Expected Behavior) 2) สถานการณ์หรือเงื่อนไข (Situation or Condition) 3) เกณฑ์ (Criteria)

6 ประโยชน์ของมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม
ช่วยในการจัดทำหลักสูตร/ปรับปรุงหลักสูตร ช่วยให้ผู้สอนกำหนดแผนการสอนได้อย่างชัดเจน ช่วยให้ผู้เรียนทราบจุดหมายปลายทางที่ตนเองต้องทำได้ ทราบจุดเด่นจุดด้อยของตนเอง ช่วยประเมินผลการสอน ช่วยในการวัดและประเมินผล

7 พฤติกรรมที่คาดหวัง พฤติกรรมที่ต้องการวัดคืออะไร มีลักษณะอย่างไร วัดโดยวิธีใด และใช้เครื่องมืออะไร สถานการณ์ การวัดพฤติกรรมเหล่านี้ต้องเตรียมอุปกรณ์อะไร ดำเนินการวัดอย่างไร เกณฑ์ ตัดสินว่าผู้เรียนเกิดพฤติกรมที่คาดหวังตาม จุดมุ่งหมายหรือไม่

8 2.4 ประเภทของพฤติกรรมการศึกษา
Bloom(1956) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ ด้านพุทธิพิสัย/ด้านสมอง (Cognitive Domain) ด้านจิตพิสัย/ ด้านความรู้สึก (Affective Domain) ด้านทักษะพิสัย / ด้านการปฏิบัติ (Psychomotor Domain)

9 ด้านพุทธิพิสัย/ด้านสมอง
ความรู้ความจำ(Knowledge) ความเข้าใจ (Comprehension) การนำไปใช้ (Application) การวิเคราะห์ (Analysis) การสังเคราะห์ (Synthesis) ประเมินค่า (Evaluation)

10 ด้านจิตพิสัย/ด้านความรู้สึก
ด้านอารมณ์ ความรู้สึก ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม เจตคติ แบ่งเป็น 5 ระดับ การรับรู้หรือการใส่ใจต่อสิ่งเร้า การตอบสนอง การเห็นคุณค่า การจัดระบบค่านิยม การแสดงลักษณะตามค่านิยม

11 ด้านทักษะพิสัย/ด้านการปฏิบัติ
ความสามารถในการปฏิบัติ การใช้กล้ามเนื้อ การประสานงานของอวัยวะต่างๆ ได้แก่ การเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย การเคลื่อนไหวที่ใช้อวัยวะหลายส่วนประกอบกัน พฤติกรรมการสื่อความหมายโดยใช้ท่าทาง พฤติกรรมการพูด


ดาวน์โหลด ppt จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google